ประกันกลุ่ม เมืองไทยประกันชีวิต ประกันอุบัติเหตุ ประกันคุ้มครองชีวิต ประกันชีวิตควบคู่การลงทุน ประกันตลอดชีพ รวบตึงโรคร้ายของผู้หญิง อย่าวางใจ…แม้ไม่ใช่มะเร็ง ประกันสุขภาพประกันโรคร้ายแรงสุขภาพ
เป็นผู้หญิงต้องไม่หยุดดูแลสุขภาพ เพราะหากละเลยเมื่อไหร่ โรคภัยอาจถามหา ดังนั้นการรู้จักสังเกตอาการผิดปกติด้วยตัวเองเบื้องต้น และรีบเข้ารับการตรวจจึงเป็นสิ่งที่ไม่ควรมองข้าม ซึ่งการพบโรคเร็วนั้นมีประโยชน์หลายอย่าง เช่น การรักษาที่ได้ผลดีกว่า ค่าใช้จ่ายจะยังไม่สูงมาก ที่สำคัญคือลดความเสี่ยงปัญหาการเกิดโรคลุกลามรุนแรงอย่างมะเร็งไปด้วย
ซึ่งโรคร้ายแรงในผู้หญิงนอกจากโรคมะเร็งแล้ว ยังมีอีกหลายโรคที่ต้องเฝ้าระวังและคอยสังเกตตัวเอง วันนี้เมืองไทยประกันชีวิตขอชวนมาเช็กกันว่า โรคร้ายอะไรบ้างที่ผู้หญิงทุกคนต้องระวัง อาการเบื้องต้นเป็นยังไง ไปดูกัน!
เนื้องอกมดลูกเกิดจากการแบ่งตัวของเซลล์ที่ผิดปกติจนเป็นก้อนและแทรกเข้าไปในชั้นกล้ามเนื้อ พบมากในผู้หญิงช่วงอายุ 20 – 50 ปี ถึงจะไม่ใช่โรคร้ายเท่ามะเร็ง แต่ในบางคนก็อาจมีอาการปวดรุนแรง หรือลุกลามส่งผลกระทบต่ออวัยวะสำคัญอื่น ๆ ในร่างกายได้
อาการที่พบบ่อย
ปวดท้องประจำเดือนมากหรือนานกว่าปกติ
มีเลือดออกทางช่องคลอดกะปริบกะปรอยนานเกิน 1 อาทิตย์
มีอาการปวดหน่วง ๆ ที่ท้องน้อย คลำพบก้อนที่ท้องน้อย
ปวดหลังส่วนล่างแบบเรื้อรัง
ปัสสาวะบ่อยขึ้น กลั้นปัสสาวะไม่ค่อยอยู่
การเกิดถุงน้ำรังไข่หรือซีสต์ในระยะแรกมักจะไม่ค่อยมีอาการ แต่ถ้าใครที่ตรวจสุขภาพเป็นประจำ โดยเฉพาะการตรวจภายใน และการทำอัลตราซาวด์ผ่านทางช่องคลอด จะช่วยให้พบง่ายและรักษาได้อย่างรวดเร็ว ซึ่งถุงน้ำรังไข่หรือซีสต์ เกิดจากการที่รังไข่สร้างของเหลวมากผิดปกติและคั่งอยู่ที่รังไข่ ทำให้เกิดลักษณะเป็นถุงน้ำหรือซีสต์ขึ้นมา
อาการที่พบบ่อย
ปวดท้องน้อยมากผิดปกติ
คลำพบก้อนที่ท้องน้อย
ประจำเดือนผิดปกติ เช่น มาน้อย มาบ้างไม่มาบ้าง
ท้องอืด แน่นท้อง เรื้อรัง
เบื่ออาหาร น้ำหนักตัวลดลงผิดปกติ
โรคเยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดที่ เป็นภาวะที่มีการเจริญเติบโตของเซลล์เยื่อบุโพรงมดลูกไปเติบโตในจุดอื่นที่ไม่ใช่ในโพรงมดลูก ตำแหน่งที่พบบ่อยส่วนใหญ่มักพบบริเวณอุ้งเชิงกราน รวมถึงอวัยวะใกล้เคียง เช่น กระเพาะปัสสาวะ และลำไส้ใหญ่ นอกจากนี้ยังพบได้ที่ท่อไต ลำไส้เล็ก ปอด สมอง เป็นต้น
อาการที่พบบ่อย
ในช่วงที่กำลังมีประจำเดือนอาการปวดจะมากขึ้น ประกันกลุ่ม และจะรุนแรงมากขึ้นในรอบเดือนถัด ๆ ไป
ปวดท้องน้อยขณะมีเพศสัมพันธ์
ปวดท้องน้อยเรื้อรัง (มีอาการปวดท้องน้อยนานกว่า 6 เดือน)
มีเลือดออกผิดปกติจากช่องคลอด
ผู้หญิงเสี่ยงเป็นโรคกระดูกพรุนมากกว่าและเร็วกว่าผู้ชาย เพราะผู้หญิงมีเนื้อกระดูกน้อยกว่าผู้ชายประมาณ 10 – 30% โดยเฉพาะเมื่อถึงวัยหมดประจำเดือน การสลายของกระดูกก็จะเพิ่มมากขึ้น
อาการที่พบบ่อย
ปวดหลัง เกิดจากกระดูกบางเป็นเวลานาน
กระดูกส่วนอื่น ๆ ที่ถูกทำลายได้ง่าย เช่น ข้อมือและสะโพก
โรคกระดูกพรุน ถือว่าเป็นภัยเงียบที่ต้องระวัง เพราะส่วนใหญ่ไม่มีอาการ กว่าจะรู้ว่าเป็นโรคกระดูกพรุนก็ต่อเมื่อกระดูกหักไปแล้ว
แม้โรคทั้งหมดที่ยกตัวอย่างมาจะไม่ใช่มะเร็งแต่ก็ต้องระวังไว้ เพราะเป็นโรคใกล้ตัวที่สามารถเกิดขึ้นได้กับผู้หญิงทุกคน การดูแลตัวเองทั้งในเรื่องอาหารการกิน การออกกำลังกาย รวมถึงการตรวจสุขภาพ ตรวจภายใน จึงเป็นสิ่งสำคัญที่ควรทำ เพราะถ้าตรวจพบตั้งแต่เนิ่น ๆ ก็สามารถรักษาให้หายได้โดยไม่ลุกลามจนเป็นโรคร้าย
ดังนั้นวางแผนสุขภาพไว้มั่นใจกว่า เพราะการซื้อประกันสุขภาพตั้งแต่ตอนที่เรายังสุขภาพดี จะได้รับความคุ้มครองอย่างเต็มที่ เพราะประกันสุขภาพจะไม่คุ้มครองโรคที่เป็นมาก่อน หากเจ็บป่วยแล้วถึงตัดสินใจซื้อก็อาจสายไป เสริมความมั่นใจไปกับประกันสุขภาพแบบเหมาจ่าย คุ้มครอง โรคร้ายแรง โรคทั่วไป และอุบัติเหตุ เลือกแผนความคุ้มครองได้ตามต้องการตั้งแต่ 200,000 บาท ถึง 100,000,000 บาท สมัครได้ถึงอายุ 90 ปี คุ้มครองสุขภาพยาว ๆ ต่อเนื่องถึงอายุ 99 ปี* พร้อมลดหย่อนภาษีได้สูงสุด 25,000 บาทต่อปี
ตัวอย่างค่าเบี้ย เพศหญิงอายุ 35 ปี สุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง วันละไม่ถึง 59 บาท
เลือกความคุ้มครองสุขภาพ ดี เฮลท์ พลัส แผนความคุ้มครอง 5 ล้านบาท
โดยเป็นวงเงินต่อการรักษาแบบครั้งใดครั้งหนึ่ง และชำระเบี้ยประกันภัยรายปี
เลือกประกันสุขภาพเหมาจ่าย เลือกเมืองไทยประกันชีวิต
ไม่ว่าอาชีพอะไร ไลฟ์สไตล์แบบไหน
เมืองไทยประกันชีวิตเข้าใจทุกความต้องการในแบบคุณ
*เฉพาะสัญญาเพิ่มเติมการประกันภัยสุขภาพแบบ อีลิท เฮลท์ พลัส หรือแบบ ดี เฮลท์ พลัส
สัญญาเพิ่มเติมสุขภาพ ต้องซื้อแนบท้ายกรมธรรม์ที่มีผลบังคับอยู่
ความคุ้มครองของสัญญาเพิ่มเติมต้องไม่เกินระยะเวลาเอาประกันภัยของกรมธรรม์ประกันชีวิตที่สัญญาเพิ่มเติมนี้แนบท้าย
เบี้ยประกันภัยสามารถนำไปใช้สิทธิลดหย่อนภาษีได้ ทั้งนี้ หลักเกณฑ์เป็นไปตามที่กรมสรรพากร กำหนด
การพิจารณารับประกันภัยเป็นไปตามหลักเกณฑ์ของบริษัทฯ
เงื่อนไขเป็นไปตามมาตรฐานและความจำเป็นทางการแพทย์
เงื่อนไขเป็นไปตามที่ บมจ.เมืองไทยประกันชีวิตและธนาคารกำหนด
โปรดศึกษารายละเอียดความคุ้มครอง เงื่อนไข และข้อยกเว้นก่อนตัดสินใจทำประกันภัย
สำนักงาน คปภ. สมาคมประกันชีวิตไทย และสมาคมประกันวินาศภัยร่วมกันพัฒนาระบบการช่วยเหลือด้านการประกันภัยแก่ประชาชน ส่งเสริมมาตรฐานการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทและการ รับเรื่องร้องเรียน เพื่อประโยชน์สูงสุดของผู้เอาประกันภัยและประชาชน
นางจันทรา บูรณฤกษ์ เลขาธิการ คณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (คปภ.) เปิดเผยว่า ตามแผนยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ของสำนักงาน คปภ. ประจำปี 2552 สำนักงานฯ ได้กำหนดเป้าหมายในการพัฒนาการให้ความคุ้มครองผู้เอาประกันภัยและประชาชนจากการประกันภัย ให้ได้รับความสะดวก รวดเร็ว และเป็นธรรมมากขึ้น โดยสำนักงาน คปภ. สมาคมประกันชีวิตไทย และสมาคมประกันวินาศภัย จึงได้ร่วมกันจัดประชุมสัมมนาการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทและการรับเรื่องร้องเรียนผ่านช่องทาง“ศูนย์บริการด้านประกันภัย” (Insurance Service Center) ณ สำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ เพื่อบูรณาการระบบรับเรื่องร้องเรียนของทั้งภาครัฐและภาคเอกชนให้มีการปฏิบัติเป็นไปในทิศทางเดียวกัน เพิ่มประสิทธิภาพในการชดใช้ค่าสินไหมทดแทน รวมถึงลดจำนวนข้อโต้แย้งและข้อพิพาทต่างๆ ให้น้อยลง
เลขาธิการ คปภ. กล่าวเพิ่มเติมอีกว่า ธุรกิจประกันภัยเป็นธุรกิจที่ขายความเชื่อมั่นและความศรัทธาของประชาชน ดังนั้น การชดใช้ค่าสินไหมทดแทนจึงเป็นหัวใจสำคัญประการหนึ่งของหลักการประกันภัย และเป็นเสมือนเฟืองจักรขับเคลื่อนสำคัญของธุรกิจประกันภัย ศูนย์บริการด้านประกันภัยจึงมีบทบาทสำคัญในฐานะที่เป็นคนกลางที่มีส่วนช่วยในการให้คำปรึกษา ไกล่เกลี่ย รับเรื่องร้องเรียน และพัฒนาวิธีการจัดการชดใช้ค่าสินไหมทดแทนที่มีจำนวนเงินไม่มาก หากศูนย์บริการด้านประกันภัยของทั้งภาครัฐและภาคเอกชนสามารถปฏิบัติในทิศทางเดียวกันได้ การประสานงานเรื่อง การไกล่เกลี่ยข้อพิพาทและการรับเรื่องร้องเรียนจะสามารถเสร็จสิ้นภายในเวลาอันรวดเร็ว สามารถลดขั้นตอนและระยะเวลาในการดำเนินการต่างๆ ซึ่งผู้เอาประกันภัยและประชาชนจะได้รับความสะดวกด้านการบริการมากขึ้น หากต้องการข้อมูลเพิ่มเติมสามารถค้นหาได้ที่ www.oic.or.th หรือสายด่วนประกันภัย 1186
นางจันทรา บูรณฤกษ์ เลขาธิการ คปภ. ชี้แจงรายละเอียดกระบวนการระงับข้อพิพาทด้วยวิธีอนุญาโตตุลาการ สำนักงาน คปภ.ว่า ตามที่ได้มีการกล่าวอ้างว่า ผู้เอาประกันภัยหรือประชาชนผู้เสียหายที่มีสิทธิเรียกร้องค่าเสียหายหรือค่าสินไหมทดแทนตามสัญญาประกันภัย เมื่อมีข้อพิพาทการเรียกร้องค่าเสียหายจากสัญญาประกันภัยกับบริษัทประกันภัย หากเสนอเรื่องให้ระงับข้อพิพาทด้วยวิธีอนุญาโตตุลาการของสำนักงานคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัยแล้ว จะทำให้ได้รับค่าเสียหายหรือค่าสินไหมทดแทนจำนวนที่สูงกว่าความเป็นจริง ทำให้บริษัทประกันภัยที่ถูกเรียกร้องไม่ได้รับความเป็นธรรม และมีความเข้าใจว่ากระบวนการอนุญาโตตุลาการเอื้อประโยชน์แก่ฝ่ายผู้เสนอข้อพิพาท และกระบวนการดังกล่าว ยังเอื้อประโยชน์แก่กลุ่มทนายความบางกลุ่มที่รับเป็นผู้แทนผู้เสนอข้อพิพาทให้กับประชาชนผู้เอาประกันภัยเข้ามาแสวงหาผลประโยชน์ นั้น
สำนักงาน คปภ. ขอชี้แจงทำความเข้าใจว่า ความเข้าใจดังกล่าวเป็นความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนจากความเป็นจริง เนื่องจากกระบวนการระงับข้อพิพาทด้วยวิธีอนุญาโตตุลาการ เป็นกระบวนการระงับข้อพิพาทที่มีกฎหมาย ระเบียบ รองรับการดำเนินงาน และการพิจารณาชดใช้ค่าสินไหมทดแทนก็เป็นไปตามหลักความเสียหายที่แท้จริงตามเงื่อนไขของสัญญาประกันภัยโดยชอบด้วยกฎหมาย ดังมีข้อเท็จจริงดังนี้
1. กระบวนการระงับข้อพิพาทด้วยวิธีการอนุญาโตตุลาการของสำนักงาน คปภ. เป็นการระงับข้อพิพาททางแพ่งและพาณิชย์อันเนื่องจากสัญญาประกันภัย ระหว่างผู้เอาประกันภัย ผู้รับประโยชน์ ผู้มีส่วนได้เสีย หรือผู้มีสิทธิเรียกร้องตามสัญญาประกันภัย กับบริษัทประกันภัย โดยการเรียกร้องค่าเสียหายหรือค่าสินไหมทดแทนของประชาชนที่ได้รับความเสียหายตามสัญญาประกันภัยดังกล่าว เป็นการใช้สิทธิเรียกร้องค่าเสียหายตามสัญญาประกันภัยตามปกติ เนื่องจากเงื่อนไขทั่วไปของกรมธรรม์ประกันภัยมีข้อกำหนดเกี่ยวกับการใช้กระบวนการระงับข้อพิพาทโดยอนุญาโตตุลาการ ของสำนักงาน คปภ. หากมีข้อพิพาทตามสัญญาประกันภัยเกิดขึ้น ดังนั้นการเสนอข้อพิพาทเพื่อใช้กระบวนการระงับข้อพิพาทดังกล่าวจึงเป็นการใช้สิทธิโดยชอบตามกฎหมาย และการดำเนินกระบวนการระงับข้อพิพาทด้วยวิธีอนุญาโตตุลาการดังกล่าวได้มีกฎหมายรองรับ การดำเนินการ ได้แก่ ระเบียบสำนักงานคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย ว่าด้วยอนุญาโตตุลาการ พ.ศ.2551 และพระราชบัญญัติอนุญาโตตุลาการ พ.ศ.2545 รวมทั้งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งในส่วนที่เกี่ยวข้องด้วย
2. เกี่ยวกับประเด็นที่ว่า เมื่อผู้เสนอข้อพิพาทได้ยื่นคำเสนอข้อพิพาทเรียกร้องค่าเสียหายกับบริษัทประกันภัยต่อสำนักงาน คปภ. เพื่อให้มีการระงับข้อพิพาทด้วยวิธีอนุญาโตตุลาการนั้น จะทำให้ได้รับค่าเสียหายจำนวนที่สูงกว่าความเป็นจริง ทำให้บริษัทประกันภัยที่ถูกเรียกร้องไม่ได้รับความเป็นธรรมนั้น ส่วนอนุญาโตตุลาการ สำนักงาน คปภ. ได้วิเคราะห์แล้วเห็นว่า การพิจารณาเรื่องร้องเรียนกรณีการเรียกร้องให้ชดใช้ค่าเสียหายตามเงื่อนไขสัญญาประกันภัย ไม่ว่าในชั้นการพิจารณาเรื่องร้องเรียนของพนักงานเจ้าหน้าที่ หรืออนุญาโตตุลาการ หรือศาล ก็ต้องเป็นไปตามกรอบของกฎหมาย ตามสิทธิและหน้าที่ ตามเงื่อนไขสัญญาประกันภัย คือ ความเสียหายที่เกิดขึ้นต้องเป็นความเสียหายที่มีความคุ้มครองตามกรมธรรม์ประกันภัย และการชดใช้ค่าเสียหายของบริษัทประกันภัยก็จะต้องชดใช้ตามความเสียหายที่แท้จริง จะชดใช้เกินกว่าความเสียหาย หรือเกินจำนวนเงินเอาประกันภัยมิได้ เนื่องจากจะเป็นการกระทำที่ฝ่าฝืนกฎหมาย และการที่ได้มีทนายความเข้ามาเป็นผู้แทนผู้เสนอข้อพิพาท ถือว่าเป็นสิทธิโดยชอบของประชาชนผู้เอาประกันภัยที่จะหาผู้ที่มีความรู้เกี่ยวกับข้อพิพาทหรือความรู้ด้านกฎหมายเข้ามาช่วยเหลือเกี่ยวกับกระบวนพิจารณา เพื่อรักษาสิทธิประโยชน์ ของตนเอง และทนายความเหล่านั้นต้องอยู่ภายใต้กระบวนการพิจารณาของอนุญาโตตุลาการตามกฎหมาย อีกทั้งการพิจารณาเรียกร้องค่าเสียหายต้องอยู่ในกรอบของสิทธิเรียกร้องตามเงื่อนไขกรมธรรม์ประกันภัยดังกล่าวแล้วข้างต้น จึงเป็นเรื่องปกติ และไม่มีผู้ใดเข้ามาแสวงหาผลประโยชน์ในกระบวนการระงับข้อพิพาทด้วยวิธีอนุญาโตตุลาการของสำนักงาน คปภ. แต่อย่างใด
3. กรณีเกี่ยวกับประเด็นดังกล่าวข้างต้นจะเห็นได้ว่า เมื่อมีการร้องเรียนให้สำนักงาน คปภ. พิจารณาแล้วอาจทำให้ประชาชนผู้เอาประกันภัยได้รับรู้ถึงสิทธิในการเรียกร้องค่าเสียหายหรือค่าสินไหมทดแทนตามเงื่อนไขกรมธรรม์ประกันภัยที่อยู่ในความคุ้มครองที่ถูกต้อง โดยผู้เอาประกันภัยหรือประชาชนไม่ทราบมาก่อน ว่าบริษัทประกันภัยมีหน้าที่ต้องชดใช้หากมีความเสียหาย เช่น ค่าขาดประโยชน์จากการใช้รถ ค่าขาดรายได้ ค่าขาดไร้อุปการะ หรือค่าเสียหายที่เกี่ยวเนื่องจากการกระทำละเมิด เป็นต้น เมื่อบริษัทประกันภัยบางบริษัทต้องจ่ายค่าเสียหายกรณีดังกล่าวเพิ่มเ
สำนักงานคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (คปภ.) ได้รับการเสนอชื่อเข้ารอบสุดท้ายรางวัล United Nations Public Service Awards (UNPSA) ประจำปี 2009 ในประเภทที่ 4เรื่อง ความก้าวหน้าทางการจัดการความรู้ในองค์กรภาครัฐ หรือ Advancing knowledge management in Government ขององค์การสหประชาชาติ (The United Nations)
นางจันทรา บูรณฤกษ์ เลขาธิการ คปภ. เปิดเผยว่า สำนักงาน ก.พ.ร.ได้เชิญส่วนราชการที่ดำเนินการพัฒนาคุณภาพการให้บริการประชาชน เสนอผลงานการให้บริการประชาชนเพื่อรางวัล UNPSA ประจำปี 2009 โดยรางวัลแบ่งเป็น 4 ประเภท ประกอบด้วย ประเภทที่ 1 การปรับปรุงความโปร่งใส ความน่าเชื่อถือ และความรับผิดชอบด้านการบริการแก่สาธารณชน (Improving transparency, accountability, and responsiveness in the Public Service) ประเภทที่ 2 การปรับปรุงการให้บริการต่างๆ (Improving the delivery of services) ประเภทที่ 3 การสนับสนุนการจัดทำแผนนโยบายด้วยนวัตกรรมใหม่ (Fostering participation in policy-making decisions through innovative mechanisms) และประเภทที่ 4 ความก้าวหน้าทางการจัดการความรู้ในองค์กรภาครัฐ (Advancing knowledge management in Government)
สำนักงาน คปภ.เข้ารับการพิจารณารางวัลในประเภทที่ 4 ซึ่งมีองค์ประกอบที่ใช้ตัดสิน คือ
เพิ่มประสิทธิภาพ (Increases efficiency) ปฎิรูปการบริหาร (Transforms administration) แนะนำมุมมองใหม่ (Introduces a new concept) ส่งเสริมความโปร่งใส (Promotes transparency) จัดหาการบริการที่มีคุณภาพสูง (Provides high-quality service delivery) ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ (Facilitates e-Participation) และส่งเสริมความน่าเชื่อถือ (Promotes accountability) ซึ่งจากการพิจารณาหน่วยงานที่ส่งเข้าประกวดทั่วโลก ปรากฏว่า ในรอบแรกมีหน่วยงานที่ได้รับการคัดเลือก จำนวน 170 หน่วยงาน รอบที่สองจำนวน 80 หน่วยงาน และรอบสุดท้ายจำนวน 28 หน่วยงาน โดย คปภ.ได้รับการเสนอชื่อให้เป็น หนึ่งใน 28 หน่วยงานที่ผ่านเข้ารอบสุดท้าย
นางจันทราฯ กล่าวต่ออีกว่า รู้สึกดีใจมากที่ คปภ. สามารถผ่านเข้าถึงรอบสุดท้าย เพราะ
รางวัล UNPSA เป็นรางวัลที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ ซึ่งนับได้ว่าเป็นอีกก้าวสำคัญที่มีส่วนช่วยผลักดันให้สำนักงาน คปภ.จะมุ่งพัฒนาคุณภาพการให้บริการแก่ประชาชนให้ดียิ่งขึ้นต่อไปเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นของประชาชน
สำนักงานคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (คปภ.) จัดประกวดโรงเรียน สถานศึกษา ที่มีผลงานการบูรณาการการเรียนการสอนด้านการประกันภัย และให้ทุนการศึกษาแก่นักเรียนที่มีผลงานดีเด่นทั่วประเทศ เพื่อรับเกียรติบัตร เงินรางวัลและทุนการศึกษากว่าสามแสนบาท
นางจันทรา บูรณฤกษ์ เลขาธิการ คปภ. เปิดเผยว่า ในฐานะหน่วยงานที่มีหน้าที่ในการเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจด้านการประกันภัยให้แพร่หลาย เล็งเห็นว่าการจัดโครงการยุวชนประกันภัย มีประโยชน์และสอดคล้องกับนโยบายของสำนักงาน ในการส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจด้านการประกันภัย และโครงการดังกล่าว ยังเป็นการส่งเสริมการเรียนรู้ด้านการประกันภัยให้กับเยาวชนและ ครู – อาจารย์ ในโรงเรียนสถานศึกษา โดยเฉพาะเยาวชนซึ่งถือเป็นรากฐานที่สำคัญในการส่งเสริมสังคมไทย ให้เข้มแข็ง ขณะเดียวกันเยาวชนยังสามารถเป็นกระบอกเสียงในการเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการประกันภัยให้แก่คนรอบข้างและครอบครัว จึงเป็นประโยชน์ต่อการผลักดันให้ธุรกิจประกันภัยเติบโตอย่างยั่งยืนในอนาคต
สำหรับหลักเกณฑ์ในการเข้าร่วมประกวดโครงการยุวชนประกันภัยประจำปี 2552 สำนักงาน คปภ. ได้แบ่งประเภทของการแข่งขัน ออกเป็น 2 ประเภท คือ
1. ประเภทโรงเรียน/สถานศึกษา – ต้องเป็นโรงเรียนที่มีการบูรณาการด้านการเรียนการสอนตามแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง การประกันภัยตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535 แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2551 จัดแบ่งรางวัลออกเป็น 3 ระดับ คือ ระดับจังหวัด ระดับภาค และระดับประเทศ รวมมูลค่ารางวัลทั้งสิ้น 260,000 บาท
2. ประเภทนักเรียน – ต้องเป็นนักเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 สายสามัญ หรือระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ปี 1 จัดแบ่งรางวัลออกเป็น 3 ระดับ คือ ระดับจังหวัด ระดับภาค และระดับประเทศ รวมมูลค่ารางวัลทั้งสิ้น 132,000 บาท
ทั้งนี้ ผู้สนใจเข้าร่วมโครงการสามารถดาวน์โหลดใบสมัคร ได้ที่ www.oic.or.th หรือสมัครได้ที่สำนักงาน คปภ. ส่วนกลาง สำนักงาน คปภ. เขต และสำนักงาน คปภ. จังหวัด หรือโทรศัพท์สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ 0-2547-4570 หรือทางสายด่วนประกันภัย 1186
ตลาดประกันภัยในประเทศเติบโตอย่างต่อเนื่อง ในปีที่ผ่านมา ตลาดเติบโต 12%YoY มีมูลค่าเบี้ยประกันภัยรวม 329.6 พันล้านบาท ในจำนวนนี้เป็นเบี้ยประกันภัยจ่ายโดยตรงจำนวน 2.234 หมื่นล้านบาท เพิ่มขึ้น 11% ขณะที่ประกันวินาศภัยทั่วไปเพิ่มขึ้น 5.30%YoY รวมเบี้ยประกันภัยที่จ่ายรวมกัน 1.063 หมื่นล้านบาท
คปภ. คาดการณ์ว่าตลาดประกันภัยจะมีขนาดเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง แม้ว่าจะได้รับผลกระทบเชิงลบจากภาวะเศรษฐกิจที่ย่ำแย่และการล่มสลายจากสถานการณ์ต่อเนื่องที่เกี่ยวข้องกับสถาบันการเงินในเครือในต่างประเทศ ตลาดประกันภัยคาดว่าจะขยายตัว 6.9%YoY มีมูลค่าเบี้ยประกันภัยสะสมรวม 352.4 พันล้านบาท โดยประกันชีวิตขยายตัว 7.5%YoY มูลค่าเบี้ยสะสม 240.2 พันล้านบาท คาดตลาดประกันวินาศภัยขยายตัว 5.60%YoY มีมูลค่าเบี้ยประกันภัยรับรวม 1.122 หมื่นล้านบาท
อัตราส่วนของตลาดประกันภัยรวม : GDP
อัตราส่วนของมูลค่าตลาดประกันภัยรวมต่อ GDP ของประเทศในปี 2551 อยู่ที่ 3.62x โดยมีอัตราส่วนเดียวกันสำหรับการประกันชีวิตที่ 2.45x และการประกันวินาศภัยที่ 1.17x คปภ. คาดการณ์มูลค่าตลาดประกันภัยรวมต่อ GDP จะเพิ่มขึ้นเล็กน้อยเป็น 3.64 เท่าในปี 2552 การเพิ่มขึ้นเล็กน้อยส่วนใหญ่เป็นผลมาจากผลกระทบของเศรษฐกิจในประเทศที่ชะลอตัว ซึ่งส่วนหนึ่งมาจากปัญหาเศรษฐกิจและวิกฤติสินเชื่อในสหรัฐอเมริกา ยุโรป และ ญี่ปุ่น.
ในกรณีที่เกี่ยวข้องกับจำนวนนโยบายที่แท้จริง บันทึกของ OIC แสดงให้เห็นอัตราส่วน 76.4% ของประชากรในประเทศที่เป็นเจ้าของกรมธรรม์อย่างน้อย 1 กรมธรรม์ โดย 25.37% เป็นเจ้าของชีวิต และ 50.99% เป็นเจ้าของวินาศภัย
เสริมความมั่นใจไปกับประกันสุขภาพแบบเหมาจ่าย คุ้มครอง โรคร้ายแรง โรคทั่วไป และอุบัติเหตุ เลือกแผนความคุ้มครองได้ตามต้องการตั้งแต่ 200,000 บาท ถึง 100,000,000 บาท สมัครได้ถึงอายุ 90 ปี คุ้มครองสุขภาพยาว ๆ ต่อเนื่องถึงอายุ 99 ปี* พร้อมลดหย่อนภาษีได้สูงสุด 25,000 บาทต่อปี
ตัวอย่างค่าเบี้ย เพศหญิงอายุ 35 ปี สุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง วันละไม่ถึง 59 บาท
เลือกความคุ้มครองสุขภาพ ดี เฮลท์ พลัส แผนความคุ้มครอง 5 ล้านบาท
โดยเป็นวงเงินต่อการรักษาแบบครั้งใดครั้งหนึ่ง และชำระเบี้ยประกันภัยรายปี
เลือกประกันสุขภาพเหมาจ่าย เลือกเมืองไทยประกันชีวิต
ไม่ว่าอาชีพอะไร ไลฟ์สไตล์แบบไหน
เมืองไทยประกันชีวิตเข้าใจทุกความต้องการในแบบคุณ
*เฉพาะสัญญาเพิ่มเติมการประกันภัยสุขภาพแบบ อีลิท เฮลท์ พลัส หรือแบบ ดี เฮลท์ พลัส
สัญญาเพิ่มเติมสุขภาพ ต้องซื้อแนบท้ายกรมธรรม์ที่มีผลบังคับอยู่
ความคุ้มครองของสัญญาเพิ่มเติมต้องไม่เกินระยะเวลาเอาประกันภัยของกรมธรรม์ประกันชีวิตที่สัญญาเพิ่มเติมนี้แนบท้าย
เบี้ยประกันภัยสามารถนำไปใช้สิทธิลดหย่อนภาษีได้ ทั้งนี้ หลักเกณฑ์เป็นไปตามที่กรมสรรพากร กำหนด
การพิจารณารับประกันภัยเป็นไปตามหลักเกณฑ์ของบริษัทฯ
เงื่อนไขเป็นไปตามมาตรฐานและความจำเป็นทางการแพทย์
เงื่อนไขเป็นไปตามที่ บมจ.เมืองไทยประกันชีวิตและธนาคารกำหนด
โปรดศึกษารายละเอียดความคุ้มครอง เงื่อนไข และข้อยกเว้นก่อนตัดสินใจทำประกันภัย
เสริมความมั่นใจด้วยประกันสุขภาพแบบเหมาจ่าย คุ้มครอง โรคร้ายแรง โรคทั่วไป และอุบัติเหตุ เลือกแผนความคุ้มครองได้ตามต้องการตั้งแต่ 200,000 บาท ถึง 100,000,000 บาท สมัครได้ถึงอายุ 90 ปี* คุ้มครองสุขภาพยาว ๆ ต่อเนื่องถึงอายุ 99 ปี* พร้อมลดหย่อนภาษีได้สูงสุด 25,000 บาทต่อปี
ตัวอย่างค่าเบี้ย เพศหญิงอายุ 35 ปี วันละไม่ถึง 59 บาท
เลือกความคุ้มครองสุขภาพ ดี เฮลท์ พลัส แผนความคุ้มครอง 5 ล้านบาท
โดยเป็นวงเงินต่อการรักษาแบบครั้งใดครั้งหนึ่ง และชำระเบี้ยประกันภัยรายปี
เลือกประกันสุขภาพเหมาจ่าย เลือกเมืองไทยประกันชีวิต
Whatever’s Next, MTL’s NEXT to You
พร้อมพัฒนาในทุกด้าน เพื่อก้าวเดินไปพร้อมคุณ
เสริมความมั่นใจไปกับ เหมาจ่าย เอ็กซ์ตร้า คุ้มครองทั้งโรคร้ายแรง โรคระบาด โรคฝีดาษลิง โรคอุบัติใหม่ โรคทั่วไป และอุบัติเหตุ พร้อมดูแลค่ารักษาแบบเหมาจ่ายครึ่งล้าน(1) เบี้ยวันละไม่ถึง 42 บาท(2)
ซื้อความคุ้มครองเพิ่มได้ ทั้งชดเชยรายวัน คุ้มครองกรณีผู้ป่วยนอก OPD หรือคุ้มครองโรคร้าย Multiple CI ก็เลือกได้ตามใจ ไม่ต้องกังวลเรื่องค่ารักษาหรือสูญเสียรายได้หากต้องลาหยุด เลือกจ่ายแบบรายเดือนได้สบาย ๆ ตามที่ไหว
คุ้มครองแบบเหมาจ่ายตามจริง 500,000 บาท(1)
ค่าห้อง 4,000 บาทต่อวัน(1) และรับเพิ่ม 2 เท่า หากเข้าพักในห้อง ICU
คุ้มครองเยอะขนาดนี้ แต่จ่ายเบี้ยประกันภัยแบบสบายๆ เลือกจ่ายแบบรายเดือนก็ได้
ซื้อวันนี้ผ่อนค่าเบี้ยสบาย ๆ 0% นานสูงสุด 6 เดือน หรือรับเครดิตเงินคืนสูงสุด 13%
(1) สำหรับแผนความคุ้มครอง 3 โดยเป็นวงเงินต่อการรักษาแบบผู้ป่วยในครั้งใดครั้งหนึ่ง
(2) สำหรับผู้เอาประกันภัยเพศหญิง 30 ปี เลือกแผนความคุ้มครอง 3 และชำระเบี้ยประกันรายปี
โครงการเหมาจ่าย เอ็กซ์ตร้า เป็นชื่อทางการตลาดของสัญญาเพิ่มเติมการประกันสุขภาพ แบบ เอ็กตร้าแคร์ (N)
ความคุ้มครองของสัญญาเพิ่มเติมต้องไม่เกินระยะเวลาเอาประกันภัยของกรมธรรม์ประกันชีวิตที่สัญญาเพิ่มเติมนี้แนบท้าย
เบี้ยประกันภัยสามารถนำไปใช้สิทธิหักลดหย่อนภาษีได้ ทั้งนี้ หลักเกณฑ์เป็นไปตามที่กรมสรรพากร กำหนด
เงื่อนไขความคุ้มครองเป็นไปตามที่ระบุไว้ในกรมธรรม์
การพิจารณารับประกันภัยเป็นไปตามหลักเกณฑ์ของบริษัทฯ
เงื่อนไขเป็นไปตามมาตรฐานและความจำเป็นทางการแพทย์
เงื่อนไขเป็นไปตามที่ บมจ.เมืองไทยประกันชีวิตและธนาคารกำหนด
โปรดศึกษารายละเอียดความคุ้มครอง เงื่อนไข และข้อยกเว้นก่อนตัดสินใจทำประกันภัย