ลดหย่อนภาษีสูงสุด เมืองไทยประกันชีวิต ลดหย่อนภาษี


ลดหย่อนภาษีสูงสุด เมืองไทยประกันชีวิต ลดหย่อนภาษี ออมเงินระยะสั้นดอกเบี้ยสูง ออมเงินระยะยาว วางแผนเกษียณ ตะกาฟุล ตะกาฟุลเมืองไทย ประกันสุขภาพเหมาจ่าย ประกันโรคร้ายแรง สร้างมรดก

ลงจากคานอย่างสง่างาม ด้วยเคล็ดไม่ลับทั้ง 7 สิ่งนี้

มีนาแล้วก็อยากมีคนกุมมือ เหมือนคนอื่นๆ บ้าง แต่ทำไมนะทำไม กามเทพถึงไม่เอ็นดูเราบ้างเมื่อไหร่จะส่งคู่ชีวิตมาให้เราสักที วาเลนไทน์ทีไรก็ได้แต่ซื้อกุหลาบให้ตัวเอง เหงาขนาดนี้ จะมีวิธีไหนบ้างไหมที่จะพาเราลงจากคานได้บ้าง ถ้าอยากรู้ ลองมาดู 7 วิธีนี้ ที่อาจจะทำให้คุณไม่โสดอีกต่อไป

หยุดหลอกตัวเองว่า โสดแล้วไง ไม่สนใจอยู่แล้ว
ท่าทีที่เหมือนว่าเข้มแข็ง แสร้งว่ายังโอเคเวลาโดนถามเรื่องแฟน แต่สุดท้ายก็ได้แต่เจ็บจี๊ดที่หัวใจ ต่อไปก็คงต้องยอมรับกับตัวเองไปตรงๆ แหละว่าก็ยังคงต้องการใครสักคนมาเคียงข้าง เพราะถ้าใจเรายังคิดว่าโสดก็ได้ มันจะทำให้ Passion ในการหาคนรู้ใจน้อยลงตามไปด้วย แต่เมื่อไหร่ก็ตามที่เรายอมรับหัวใจตัวเองว่าอยากมีแฟน เราก็จะเริ่มหาวิธีการต่างๆ เพื่อหาตัวเองไปเจอกับคนๆนั้นจนสำเร็จ

เปลี่ยนตัวเองให้สดใสกว่าเดิม
เปลี่ยนลุคเป็นคนใหม่ที่สดใสกว่าเดิม สร้างเซอร์ไพรส์ให้คนรอบข้างเห็นถึงการเปลี่ยนแปลง อีกทั้งยังมีข้อมูลอีกด้วยว่านักจิตวิทยามีการศึกษากันมาแล้วว่า เมื่อมนุษย์ได้เห็นสิ่งที่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม จะให้ความรู้สึกกระปรี้กระเปร่า มีชีวิตชีวามากขึ้น และช่วยให้เกิดความรู้สึกอยากเข้าหา ไม่แน่ว่าคนคุ้นเคยที่เจอกันอยู่ทุกวัน อาจจะเกิดอาการตกหลุมรักจากการ Makeover นี้ก็ได้

ออกจาก safe zone เพื่อเจอ Fan zone
อยู่แต่ที่เดิมก็ได้เจอแต่สิ่งเดิมๆ ดังนั้นถ้าอยากเปิดโอกาสให้ตัวเองได้เจอสิ่งใหม่ๆ ก็คงต้องออกไปใช้ชีวิตในแบบที่ต่างไปจากเดิม หรือใครยังกลัวๆ ที่จะออกไปจากพื้นที่ปลอดภัยของตัวเอง อาจจะเริ่มจากการขยายพื้นที่ของตัวเองก่อนก็ได้ เช่น ถ้าชอบกินอาหาร ก็ไปลองเรียนทำอาหาร ชอบดูงานศิลปะก็ลองไปเรียนวาดรูป อย่างน้อยๆ คุณก็ยังจะมีโอกาสได้เจอคนใหม่ๆ ที่มีความชอบเหมือนกัน

สร้าง connection ลดหย่อนภาษีสูงสุด สานฝันการมีคู่
ยิ่งรู้จักคนเยอะ ก็ยิ่งเพิ่มโอกาสในการได้เจอกับคนที่ใช่ได้มากขึ้น บางทีคู่ของคุณอาจจะมาจากการที่เพื่อนแนะนำให้รู้จัก หรือไม่ก็เป็นคนที่ทักมาใน Facebook หรือบางทีคนที่กด Like คุณบ่อยๆ เขาอาจจะมีความในใจอยากบอกก็ได้ ดังนั้นสร้างเครือข่ายให้กว้างเข้าไว้ ยังไงถ้าไม่ได้แฟน ก็จะได้มีมิตรภาพใหม่ๆ มาให้คุณได้เรียนรู้ และอาจจะสานสัมพันธ์เป็นแฟนกันในอนาคตก็เป็นได้

หยุด Say Bye แล้วเปลี่ยนเป็น Say Hi แทน
ถ้าไม่อยากโสดอีกต่อไปแล้ว ต่อไปเวลาใครชวนไปเที่ยวไหนให้เลี่ยงคำตอบว่าขอคิดดูก่อน แล้วตอบไปว่าใครไปบ้างแทนเผื่อคนที่เราแอบเล็งๆไว้ อาจจะไปทริปนั้นด้วยก็ได้ หรือไม่การที่เราลองไปเที่ยวกับเพื่อน อาจจะได้เจอเพื่อนของเพื่อน ที่เป็นการช่วยให้เราได้รู้จักคนเพิ่มมากขึ้น เป็นการขยายวงของคนที่เรารู้จักไปอีกที สร้างมิตรกับเพื่อนกลุ่มใหม่ๆบ้างจากการออกไปเที่ยวนี่แหละ

ใช้ตัวช่วยในการหาแฟน
เดี๋ยวนี้มีเทคโนโลยีมากมายที่ใช้หาแฟนและคนรักได้ แถมยังมีคู่แต่งงานหลายคู่ที่มาจากการเจอกันผ่าน App จับคู่ต่างๆ ลองใช้กันดูก็ไม่เสียหายอะไร คิดซะว่าเป็นอีกช่องทางในการสร้างความสัมพันธ์ ลองปัดซ้าย ปัดขวาดู แล้วคุณก็จะรู้ว่าความรักครั้งนี้มาจากการที่คุณได้ลองเปิดโอกาสให้ตัวเองด้วยมือของคุณ

คิดบวกเข้าไว้ อะไรๆ ก็จะดี
มั่นใจเข้าไว้ นึกถึงเรื่องดีๆ แบบ Positive Thinking เมื่อเราคิดดี สิ่งดีๆ ก็จะเข้ามาหาเราเองในสักวัน ยิ้มให้เก่งไว้ก่อน รอยยิ้มของคุณอาจจะมัดใจใครเข้าก็ได้ นี่แหละก็จะเป็นโอกาสให้คุณได้มีใครสักคนเข้ามารัก เพราะการทำตัวเองให้สดใส ร่าเริง คนที่มองเรามาก็คงคิดได้แล้วว่าเราเป็นคนที่น่าอยู่ด้วย

โสดและรวยด้วย ประกันสะสมทรัพย์ออนไลน์
โสดแบบมั่งคง การเงินมั่งคั่ง ด้วยประกันควบการลงทุน

เสริมความมั่นใจไปกับประกันสุขภาพแบบเหมาจ่าย คุ้มครอง โรคร้ายแรง โรคทั่วไป และอุบัติเหตุ เลือกแผนความคุ้มครองได้ตามต้องการตั้งแต่ 200,000 บาท ถึง 100,000,000 บาท สมัครได้ถึงอายุ 90 ปี คุ้มครองสุขภาพยาว ๆ ต่อเนื่องถึงอายุ 99 ปี* พร้อมลดหย่อนภาษีได้สูงสุด 25,000 บาทต่อปี

ตัวอย่างค่าเบี้ย เพศหญิงอายุ 35 ปี สุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง วันละไม่ถึง 59 บาท

เลือกความคุ้มครองสุขภาพ ดี เฮลท์ พลัส แผนความคุ้มครอง 5 ล้านบาท

โดยเป็นวงเงินต่อการรักษาแบบครั้งใดครั้งหนึ่ง และชำระเบี้ยประกันภัยรายปี

เลือกประกันสุขภาพเหมาจ่าย เลือกเมืองไทยประกันชีวิต

ไม่ว่าอาชีพอะไร ไลฟ์สไตล์แบบไหน

เมืองไทยประกันชีวิตเข้าใจทุกความต้องการในแบบคุณ

*เฉพาะสัญญาเพิ่มเติมการประกันภัยสุขภาพแบบ อีลิท เฮลท์ พลัส หรือแบบ ดี เฮลท์ พลัส

สัญญาเพิ่มเติมสุขภาพ ต้องซื้อแนบท้ายกรมธรรม์ที่มีผลบังคับอยู่
ความคุ้มครองของสัญญาเพิ่มเติมต้องไม่เกินระยะเวลาเอาประกันภัยของกรมธรรม์ประกันชีวิตที่สัญญาเพิ่มเติมนี้แนบท้าย
เบี้ยประกันภัยสามารถนำไปใช้สิทธิลดหย่อนภาษีได้ ทั้งนี้ หลักเกณฑ์เป็นไปตามที่กรมสรรพากร กำหนด
การพิจารณารับประกันภัยเป็นไปตามหลักเกณฑ์ของบริษัทฯ

เงื่อนไขเป็นไปตามมาตรฐานและความจำเป็นทางการแพทย์
เงื่อนไขเป็นไปตามที่ บมจ.เมืองไทยประกันชีวิตและธนาคารกำหนด
โปรดศึกษารายละเอียดความคุ้มครอง เงื่อนไข และข้อยกเว้นก่อนตัดสินใจทำประกันภัย

บริษัทประกันภัย เฮ ครม. อนุมัติร่างภาษีส่งเสริมการควบรวมกิจการของสถาบันการเงิน

นายประเวช องอาจสิทธิกุล เลขาธิการคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (คปภ.) เปิดเผยว่า คณะรัฐมนตรี (ครม.) มีมติเห็นชอบร่างพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากรว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร (ฉบับที่ …) พ.ศ….และร่างพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากรว่าด้วยรายจ่ายที่ไม่ให้ถือเป็นรายจ่ายในการคำนวณกำไรสุทธิ (ฉบับที่ … ) พ.ศ… เพื่อสนับสนุนการควบรวมกิจการประเด็นเงินสำรองของสถาบันการเงินและกิจการประกันภัย โดยมีสาระสำคัญ ของร่างพระราชกฤษฎีกา ดังนี้

1. กำหนดให้ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลให้แก่บริษัทเดิมอันได้ควบเข้ากันหรือเป็นผู้โอนกิจการที่ต้องจดทะเบียนเลิก สำหรับเงินได้ที่เป็นเงินสำรองซึ่งได้กันไว้ตามมาตรา 65 ตรี (1) แห่งประมวลรัษฎากร เช่น สำรองจากเบี้ยประกันภัย ค่าเผื่อหนี้สูญ หรือหนี้สงสัยจะสูญ และต้องนำมารวมเป็นรายได้ในรอบระยะเวลาบัญชีที่ควบเข้ากันหรือโอนกิจการทั้งหมดให้แก่กัน ตามมาตรา 74 (2) และ (3) แห่งประมวลรัษฎากร

2. กำหนดให้รายจ่ายของบริษัทใหม่ที่ควบเข้ากันหรือผู้โอนกิจการจากการโอนกิจการทั้งหมด เป็นจำนวนเท่ากับเงินสำรองที่ได้กันไว้ ตามมาตรา 65 ตรี (1) แห่งประมวลรัษฎากร ของบริษัทเดิมอันได้ควบเข้ากันหรือเป็นผู้โอนกิจการที่ต้องจดทะเบียนเลิกเป็นรายจ่ายที่ไม่ให้ถือเป็นรายจ่ายในการคำนวณกำไรสุทธิตามมาตรา 65 ตรี (20)

ทั้งนี้ เดิมบริษัทที่เป็นสถาบันการเงินหรือที่ประกอบกิจการประกันภัย ที่มีการควบรวมกัน ถือว่าบริษัทเดิมเลิกกิจการ จะต้องนำเงินสำรองมารวมกันเพื่อมาคำนวณเสียภาษีทันที ซึ่งก่อให้เกิดอุปสรรคในการควบรวมกิจการและทำให้สถาบันการเงินและกิจการประกันภัยที่จะควบรวมกิจการขาดสภาพคล่อง รวมทั้งขาดความเข้มแข็งทางการเงิน

สำนักงาน คปภ. จึงร่วมกับ สมาคมประกันชีวิตไทย และสมาคมประกันวินาศภัยไทย ผลักดันผ่านคณะกรรมการพัฒนาตลาดทุนไทย และกรมสรรพากร ให้มีการแก้ไขกฎหมายให้บริษัทประกันภัยที่มีการควบรวมกิจการหรือโอนกิจการเข้าด้วยกันไม่ต้องนำเงินสำรองมาคำนวณภาษีทันทีที่มีการควบรวมกิจการ

เลขาธิการกล่าวเพิ่มเติมว่า การสนับสนุนให้มีการควบรวมกิจการหรือโอนกิจการทั้งหมดให้แก่กัน จะทำให้ธุรกิจประกันภัยมีความแข็งแกร่งมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ ยังเป็นการลดต้นทุนและลดขั้นตอนในการดำเนินการควบรวมกิจการ โดยจากนี้ไปจะเห็นบริษัทประกันภัยมีการควบรวมกันมากขึ้น ซึ่งจะเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันให้กับบริษัทประกันภัย รวมถึงเป็นการส่งเสริมความเข้มแข็งให้กับธุรกิจประกันภัยไทยมีเสถียรภาพมากยิ่งขึ้น พร้อมก้าวสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน โดยสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาจะดำเนินการตรวจรับร่างกฎหมายดังกล่าว และดำเนินการต่อไป

นายประเวช องอาจสิทธิกุล เลขาธิการ คณะกรรมการกํากับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (คปภ.) ดร. ประสาร ไตรรัตน์วรกุล ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ดร. วรพล โสคติยานุรักษ์ เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (กลต.) และนายจรัมพร โชติกเสถียร กรรมการและผู้จัดการ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลท.) ได้ร่วมลงนามบันทึกความตกลงว่าด้วยโครงการ แลกเปลี่ยนพนักงานไปปฏิบัติงาน และรับมาปฏิบัติงาน ระหว่างสำนักงาน คปภ. กับองค์กรกํากับตรวจสอบสถาบันการเงินในประเทศไทย เพื่อเสริมสร้างความร่วมมือระหว่างองค์กร พัฒนาพนักงานโดยส่งเสริมการเรียนรู้ แลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการทํางาน และเรียนรู้วัฒนธรรมองค์กรที่ แตกต่างกัน เมื่อวันที่ 11 มกราคม 2556 ณ ห้องประชุมวิวัฒนไชย ธนาคารแห่งประเทศไทย

สำนักงานคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (คปภ.) ร่วมกับสมาคมประกันวินาศภัยไทย และสมาคมสหมิตรการซ่อมรถยนต์แห่งประเทศไทย จัดกิจกรรม “ตรวจรถยนต์ก่อนเดินทางในช่วงเทศกาลสงกรานต์ ปี 2556” โดยให้บริการตรวจรถยนต์ให้แก่ประชาชนฟรี 20 รายการ ระหว่างวันที่ 15 มีนาคม -10 เมษายน 2556 ณ อู่ที่เข้าร่วมโครงการในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล

นายประเวช องอาจสิทธิกุล เลขาธิการ คปภ. เปิดเผยว่า สำนักงาน คปภ. และภาคอุสาหกรรมประกันภัย ร่วมมือกันจัดโครงการรณรงค์ลดอุบัติเหตุช่วงเทศกาลสงกรานต์ ประจำปี 2556 โดยในช่วงแรกจะเป็นกิจกรรมตรวจสภาพการทำงานของรถยนต์ก่อนออกเดินทาง เช่น ระดับน้ำมันเกียร์ ระดับน้ำในหม้อน้ำ หม้อพัก และน้ำหล่อเย็น ระดับน้ำมันเบรก แบตเตอร์รี่ แรงดันลมยาง และสภาพยางรถยนต์ ระบบไฟส่องสว่าง ไฟเลี้ยว ไฟเบรก รวมถึงระบบเครื่องปรับอากาศ เพื่อร่วมรณรงค์ลดอุบัติเหตุทางถนนในช่วงเทศกาลสงกรานต์ที่จะมีประชาชนจำนวนมากเดินทางท่องเที่ยว หรือกลับภูมิลำเนา การตรวจสอบสภาพรถยนต์ให้พร้อมก่อนใช้งาน เป็นการช่วยลดการเกิดอุบัติเหตุได้ทางหนึ่ง นอกจากนี้ ยังมีกิจกรรมรณรงค์ทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค ภายใต้คำขวัญ “ขับขี่ปลอดภัย ประกันภัยห่วงใยคุณ” โดยการจัดตั้งศูนย์บริการร่วมประกันภัยครบวงจร ซึ่งกำหนดเปิดตัว ในวันศุกร์ที่ 29 มีนาคม 2556 เวลา 10.00 น. ณ ลานอเนกประสงค์ สำนักงาน คปภ.

ทั้งนี้ ขอให้ประชาชนที่จะเดินทางท่องเที่ยวในช่วงวันหยุดยาว เข้าใช้บริการตรวจสอบสภาพรถยนต์ฟรีก่อนเดินทาง และขับขี่รถยนต์ รถจักรยานยนต์ด้วยความไม่ประมาท ตลอดจนตรวจสอบวันหมดอายุการประกันภัยรถภาคบังคับ (พ.ร.บ.) ก่อนเดินทางด้วยเพราะหากเกิดอุบัติเหตุขึ้น การทำประกันภัยรถภาคบังคับ (พ.ร.บ.) สามารถบรรเทาความเดือดร้อนของท่านได้ สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ สายด่วนประกันภัย 1186 หรือ www.oic.or.th

นายประเวช องอาจสิทธิกุล เลขาธิการคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (คปภ.) เปิดเผยว่า สถาบันวิทยาการประกันภัยระดับสูง สำนักงาน คปภ. มีกำหนดจัดอบรมหลักสูตรที่ปรึกษาด้านการประกันภัย (Chartered Insurance Advisor : CIA) รุ่นที่ 4 เพื่อยกระดับ และพัฒนาขีดความสามารถคนกลางประกันภัยให้มีความรู้ความเข้าใจในเชิงลึกเกี่ยวกับการประกอบอาชีพที่ปรึกษาด้านการประกันภัย โดยจะเปิดรับสมัคร ตั้งแต่วันที่ 11 มีนาคม – 12 เมษายน 2556 ในวันและเวลาราชการ และเริ่มอบรมในเดือนพฤษภาคม – สิงหาคม 2556

ทั้งนี้ คุณสมบัติของผู้เข้ารับการอบรมจะต้องเป็นตัวแทนประกันภัยหรือนายหน้าประกันภัย ซึ่งได้รับอนุญาตทั้งการประกันชีวิต และการประกันวินาศภัย ที่ใบอนุญาตใบหนึ่งผ่านการต่ออายุใบอนุญาตครั้งที่ 4 และใบอนุญาตอีกใบหนึ่งต้องผ่านการต่ออายุครั้งที่ 2 ไปแล้ว และไม่เคยมีประวัติการถูกร้องเรียนหรือได้รับหนังสือคำเตือนจากบริษัทมาก่อน ซึ่งผู้ที่ผ่านการอบรมหลักสูตรดังกล่าวจะได้รับเกียรติบัตรที่ปรึกษาด้านการประกันภัยพร้อมบัตรทองตัวแทน/นายหน้าประกันชีวิต และประกันวินาศภัย รวมถึงสิทธิประโยชน์อื่น อาทิ สามารถนำหนังสือรับรองการผ่านการอบรมไปใช้สำหรับทดแทนการอบรมหลักสูตรการขอต่ออายุใบอนุญาต ครั้งที่ 3 เป็นต้นไป สามารถใช้ทดแทนการอบรมเป็นผู้ขายกรมธรรม์ประกันชีวิตควบการลงทุน (Unit Linked) หรือกรมธรรม์ประกันชีวิตแบบยูนิเวอร์แซลไลฟ์ และได้รับสิทธิพิเศษในการขึ้นทะเบียนเป็นผู้บรรยายของสถาบัน สมาคม และองค์กร ที่ได้รับความเห็นชอบจากนายทะเบียนให้เป็นสถาบันจัดอบรมเป็นระยะเวลา 3 ปี

นายประเวช องอาจสิทธิกุล เลขาธิการคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (คปภ.) เปิดเผยภาพรวม ปี 2555 ธุรกิจประกันภัยมีเบี้ยประกันภัยรับโดยตรงรวมทั้งสิ้น 569,903 ล้านบาท ขยายตัวจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 21.48 มีสัดส่วนเบี้ยประกันภัยต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมของประเทศอยู่ที่ร้อยละ 5.02

โดยแบ่งเป็นเบี้ยประกันภัยจากธุรกิจประกันชีวิต จำนวน 390,474 ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 18.72 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน เป็นผลจากการที่ผู้บริโภคมีความเชื่อมั่นในธุรกิจประกันชีวิตซึ่งมีการพัฒนาช่องทางการขายให้ประชาชนสามารถเข้าถึงการประกันภัยได้อย่างทั่วถึง และพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่สนองความต้องการของประชาชนได้เป็นอย่างดี ประกอบกับมาตรการของภาครัฐที่ส่งเสริมให้ประชาชนหันมาออมเงินสำหรับวัยเกษียณ ผ่านการประกันชีวิต โดยให้สิทธิประโยชน์ ต่างๆ เช่น การให้สิทธิผู้ซื้อประกันชีวิตสามารถนำไปหักลดหย่อนภาษีได้ โดยการประกันชีวิตที่มีเบี้ยประกันภัยรับสูงสุด คือ การประกันชีวิตประเภทสามัญ จำนวน 329,665 ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 17.90 ซึ่งจะเห็นได้ว่า ปี 2555 ธุรกิจประกันชีวิตเน้นการขายผลิตภัณฑ์แบบตลอดชีพ ซึ่งเน้น ความคุ้มครองหลังเกษียณอายุ สะท้อนได้จากกรมธรรม์ประกันชีวิตแบบตลอดชีพที่มีส่วนแบ่งการตลาดสูงสุดถึง ร้อยละ 48.34 ของจำนวนกรมธรรม์ประเภทสามัญ รองลงมาการประกันชีวิตประเภทกลุ่ม จำนวน 47,184 ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 31.53 และการประกันภัยอุบัติเหตุส่วนบุคคล จำนวน 5,333 ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 9.62 และ จากธุรกิจประกันวินาศภัย จำนวนรวมทั้งสิ้น 179,429 ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 27.96 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน โดยการประกันภัยรถมีเบี้ยประกันภัยรับสูงสุด จำนวน 103,874 ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 24.77 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ซึ่งเป็นผลจากปริมาณการจำหน่ายรถยนต์นั่งส่วนบุคคลที่ขยายตัวอย่างต่อเนื่องที่ร้อยละ 162.7 ในช่วงโค้งสุดท้ายของมาตรการคืนเงินภาษีรถยนต์คันแรก เดือนธันวาคม 2555 ซึ่งประชาชนต่างทยอยใช้สิทธิกันอย่างต่อเนื่อง รองลงมาการประกันภัยเบ็ดเตล็ด จำนวน 60,606 ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 36.83 และการประกันอัคคีภัย จำนวน 9,759 ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 21.04

เลขาธิการ คปภ. กล่าวเสริมว่า ปี 2555 ถือเป็นบททดสอบที่แสดงให้เห็นว่าธุรกิจประกันภัยไทยมีความแข็งแกร่ง สามารถฝ่าฟันอุปสรรคที่เกิดขึ้นจากปัจจัยรอบด้านได้อย่างมั่นคง พลิกฟื้นจากสถานการณ์อุทกภัยเมื่อปลายปี 2554 ได้อย่างรวดเร็วและเข้มแข็ง สะท้อนได้จากตัวเลขธุรกิจประกันภัยในปี 2555 มีอัตราการเจริญเติบโตถึงร้อยละ 21.48 ทั้งนี้ ในปี 2556 สำนักงาน คปภ. คาดว่าธุรกิจประกันภัยจะเติบโตต่อเนื่อง แต่ในอัตราที่ชะลอตัวลง เนื่องจากฐานเปรียบเทียบที่สูงในปี 2555 และจากการสิ้นสุดระยะเวลาผ่อนผันการรับรถของทางการตามมาตรการคืนเงินภาษีรถคันแรก โดยคาดว่าจะมีเบี้ยประกันภัยรับจำนวน 6.60 แสนล้านบาท อัตราเติบโตประมาณร้อยละ 16 แบ่งเป็นธุรกิจประกันชีวิต เบี้ยประกันภัยจำนวน 4.49 แสนล้านบาท อัตราเติบโตประมาณร้อยละ 18 และธุรกิจประกันวินาศภัย เบี้ยประกันภัยจำนวน 2.11 แสนล้านบาท อัตราเติบโตประมาณร้อยละ 15 และมีสัดส่วนเบี้ยประกันภัยต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมของประเทศอยู่ที่ประมาณร้อยละ 5.38

คณะนักศึกษามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตตรัง เข้าศึกษาดูงาน เกี่ยวกับการดำเนินงานของศูนย์บริการด้านการประกันภัย (ISC) และส่วนงานบริการการออกใบอนุญาตตัวแทนนายหน้าประกันภัย พร้อมรับฟังบรรยายจากวิทยากร เกี่ยวกับบทบาท หน้าที่ของสำนักงาน คปภ.และการพัฒนานักคณิตศาสตร์ประกันภัย ณ ห้องประชุมชั้น 1 สถาบันวิทยาการประกันภัยระดับสูง วันที่ 5 มีนาคม 2556

>> เสริมความมั่นใจไปกับประกันสุขภาพแบบเหมาจ่าย คุ้มครอง โรคร้ายแรง โรคทั่วไป และอุบัติเหตุ เลือกแผนความคุ้มครองได้ตามต้องการตั้งแต่ 200,000 บาท ถึง 100,000,000 บาท สมัครได้ถึงอายุ 90 ปี คุ้มครองสุขภาพยาว ๆ ต่อเนื่องถึงอายุ 99 ปี* พร้อมลดหย่อนภาษีได้สูงสุด 25,000 บาทต่อปี

ตัวอย่างค่าเบี้ย เพศหญิงอายุ 35 ปี สุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง วันละไม่ถึง 59 บาท

เลือกความคุ้มครองสุขภาพ ดี เฮลท์ พลัส แผนความคุ้มครอง 5 ล้านบาท

โดยเป็นวงเงินต่อการรักษาแบบครั้งใดครั้งหนึ่ง และชำระเบี้ยประกันภัยรายปี

เลือกประกันสุขภาพเหมาจ่าย เลือกเมืองไทยประกันชีวิต

ไม่ว่าอาชีพอะไร ไลฟ์สไตล์แบบไหน

เมืองไทยประกันชีวิตเข้าใจทุกความต้องการในแบบคุณ

*เฉพาะสัญญาเพิ่มเติมการประกันภัยสุขภาพแบบ อีลิท เฮลท์ พลัส หรือแบบ ดี เฮลท์ พลัส

สัญญาเพิ่มเติมสุขภาพ ต้องซื้อแนบท้ายกรมธรรม์ที่มีผลบังคับอยู่
ความคุ้มครองของสัญญาเพิ่มเติมต้องไม่เกินระยะเวลาเอาประกันภัยของกรมธรรม์ประกันชีวิตที่สัญญาเพิ่มเติมนี้แนบท้าย
เบี้ยประกันภัยสามารถนำไปใช้สิทธิลดหย่อนภาษีได้ ทั้งนี้ หลักเกณฑ์เป็นไปตามที่กรมสรรพากร กำหนด

การพิจารณารับประกันภัยเป็นไปตามหลักเกณฑ์ของบริษัทฯ
เงื่อนไขเป็นไปตามมาตรฐานและความจำเป็นทางการแพทย์
เงื่อนไขเป็นไปตามที่ บมจ.เมืองไทยประกันชีวิตและธนาคารกำหนด
โปรดศึกษารายละเอียดความคุ้มครอง เงื่อนไข และข้อยกเว้นก่อนตัดสินใจทำประกันภัย

>> เสริมความมั่นใจด้วยประกันสุขภาพแบบเหมาจ่าย คุ้มครอง โรคร้ายแรง โรคทั่วไป และอุบัติเหตุ เลือกแผนความคุ้มครองได้ตามต้องการตั้งแต่ 200,000 บาท ถึง 100,000,000 บาท สมัครได้ถึงอายุ 90 ปี* คุ้มครองสุขภาพยาว ๆ ต่อเนื่องถึงอายุ 99 ปี* พร้อมลดหย่อนภาษีได้สูงสุด 25,000 บาทต่อปี

ตัวอย่างค่าเบี้ย เพศหญิงอายุ 35 ปี วันละไม่ถึง 59 บาท

เลือกความคุ้มครองสุขภาพ ดี เฮลท์ พลัส แผนความคุ้มครอง 5 ล้านบาท

โดยเป็นวงเงินต่อการรักษาแบบครั้งใดครั้งหนึ่ง และชำระเบี้ยประกันภัยรายปี

เลือกประกันสุขภาพเหมาจ่าย เลือกเมืองไทยประกันชีวิต

Whatever’s Next, MTL’s NEXT to You

พร้อมพัฒนาในทุกด้าน เพื่อก้าวเดินไปพร้อมคุณ

>> เสริมความมั่นใจไปกับ เหมาจ่าย เอ็กซ์ตร้า คุ้มครองทั้งโรคร้ายแรง โรคระบาด โรคฝีดาษลิง โรคอุบัติใหม่ โรคทั่วไป และอุบัติเหตุ พร้อมดูแลค่ารักษาแบบเหมาจ่ายครึ่งล้าน(1) เบี้ยวันละไม่ถึง 42 บาท(2)

ซื้อความคุ้มครองเพิ่มได้ ทั้งชดเชยรายวัน คุ้มครองกรณีผู้ป่วยนอก OPD หรือคุ้มครองโรคร้าย Multiple CI ก็เลือกได้ตามใจ ไม่ต้องกังวลเรื่องค่ารักษาหรือสูญเสียรายได้หากต้องลาหยุด เลือกจ่ายแบบรายเดือนได้สบาย ๆ ตามที่ไหว

คุ้มครองแบบเหมาจ่ายตามจริง 500,000 บาท(1)
ค่าห้อง 4,000 บาทต่อวัน(1) และรับเพิ่ม 2 เท่า หากเข้าพักในห้อง ICU
คุ้มครองเยอะขนาดนี้ แต่จ่ายเบี้ยประกันภัยแบบสบายๆ เลือกจ่ายแบบรายเดือนก็ได้
ซื้อวันนี้ผ่อนค่าเบี้ยสบาย ๆ 0% นานสูงสุด 6 เดือน หรือรับเครดิตเงินคืนสูงสุด 13%

(1) สำหรับแผนความคุ้มครอง 3 โดยเป็นวงเงินต่อการรักษาแบบผู้ป่วยในครั้งใดครั้งหนึ่ง

(2) สำหรับผู้เอาประกันภัยเพศหญิง 30 ปี เลือกแผนความคุ้มครอง 3 และชำระเบี้ยประกันรายปี

โครงการเหมาจ่าย เอ็กซ์ตร้า เป็นชื่อทางการตลาดของสัญญาเพิ่มเติมการประกันสุขภาพ แบบ เอ็กตร้าแคร์ (N)
ความคุ้มครองของสัญญาเพิ่มเติมต้องไม่เกินระยะเวลาเอาประกันภัยของกรมธรรม์ประกันชีวิตที่สัญญาเพิ่มเติมนี้แนบท้าย
เบี้ยประกันภัยสามารถนำไปใช้สิทธิหักลดหย่อนภาษีได้ ทั้งนี้ หลักเกณฑ์เป็นไปตามที่กรมสรรพากร กำหนด

เงื่อนไขความคุ้มครองเป็นไปตามที่ระบุไว้ในกรมธรรม์
การพิจารณารับประกันภัยเป็นไปตามหลักเกณฑ์ของบริษัทฯ
เงื่อนไขเป็นไปตามมาตรฐานและความจำเป็นทางการแพทย์

เงื่อนไขเป็นไปตามที่ บมจ.เมืองไทยประกันชีวิตและธนาคารกำหนด
โปรดศึกษารายละเอียดความคุ้มครอง เงื่อนไข และข้อยกเว้นก่อนตัดสินใจทำประกันภัย

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *