แบบตะกาฟุลเมืองไทย เมืองไทยประกันชีวิต ตะกาฟุล เมืองไทยประกันชีวิต กรุงเทพ กินแบบไหนไม่เสี่ยงโรค ! ประกันสุขภาพคุ้มครองเหมาจ่ายสุขภาพ
กินแบบไหนไม่เสี่ยงโรค ใกล้เข้ามาแล้วสำหรับเทศกาลตรุษจีน ปี 2566 ซึ่งตรุษจีนปีนี้ตรงกับวันอาทิตย์ที่ 22 มกราคม 2566 ซึ่งแน่นอนว่าช่วงเทศกาลตรุษจีน นอกจากเราจะได้ทำพิธีไหว้เทพเจ้าและบรรพบุรุษแล้ว สิ่งที่ขาดไม่ได้เลยคือการสังสรรค์รวมญาติกันในหมู่พี่น้อง
ซึ่งเทศกาลตรุษจีนแบบนี้ต้องบอกเลยว่า เลี่ยงไม่ได้แน่นอนสำหรับอาหารคาวหวานที่จัดกันมาเต็ม ๆ มีให้กินกันได้พุงกาง แต่อาหารหรือของไหว้ในวันตรุษจีนนั้น อาจส่งผลกระทบต่อสุขภาพร่างกายได้เช่นกันหากไม่เลือกกิน ดังนั้นด้วยความห่วงใยจากเมืองไทยประกันชีวิต จึงขอรวมวิธีการกินและปรุงอาหารในช่วงตรุษจีน ให้เสี่ยงโรคน้อยที่สุด จะมีอะไรบ้างนั้น ไปดูกัน !
ตามหลักของไหว้ในวันตรุษจีน จะมีการไหว้ของคาวที่เรียกว่า ซาแซ หรือ โหงวแซ หมายถึงเนื้อสัตว์ 3 อย่าง หรือ 5 อย่าง ได้แก่ หมูสามชั้น, ไก่, เป็ด, ปลา, ตับ ซึ่งหลังจากไหว้ตรุษจีนเสร็จ จะนิยมนำของไหว้มากินกันในครบครัว เพื่อความเป็นสิริมงคล
แต่รู้หรือไม่ว่าของไหว้เหล่านั้น หากกินมากไปอาจมีอันตรายแฝงอยู่ โดยเฉพาะผู้สูงอายุที่กินเนื้อสัตว์มากเกินไป อาจมีอาการย่อยยาก หรือกินอาหารที่มีรสหวาน มัน เค็ม มากเกินไป ก็อาจทำให้เสี่ยงต่อการเกิดโรคต่าง ๆ เช่น โรคอ้วน โรคไต ความดันโลหิตสูง เบาหวาน มะเร็ง เป็นต้น
แนะนำให้กินแต่พอดี หรือเลือกกินแบบที่มีไขมันน้อยที่สุด เช่น เนื้อไก่ไม่ติดหนัง หมูสามชั้นตัดส่วนมันออก เน้นกินเนื้อปลา นอกจากนี้ อาหารผัดควรใช้น้ำมันน้อยๆ และเลือกใช้น้ำมันที่มีกรดไขมันไม่อิ่มตัวในการประกอบอาหาร เช่น น้ำมันมะกอก น้ำมันรำข้าว น้ำมันถั่วเหลือง น้ำมันข้าวโพด หรือน้ำมันเมล็ดทานตะวัน จะดีต่อสุขภาพมากกว่า เพราะกรดไขมันไม่อิ่มตัวช่วยลดระดับคอเลสเตอรอลในเลือด
ขนมไหว้ตรุษจีน เป็นอะไรที่ยั้งใจไม่ได้จริง ๆ เพราะมีให้ชิมแค่ปีละครั้ง แค่ลองคิดถึงแป้งขนมที่อบควันเทียนจนหอมกรุ่น แค่นี้ก็อดใจไม่ไหวที่จะลองลิ้มชิมรสกันแล้ว ไม่ว่าจะเป็น ขนมเข่ง ขนมเทียน ขนมถ้วยฟู ซาลาเปาหรือหมั่นโถว ขนมจันอับ ก็อาจทำให้เราลงพุงได้ไม่รู้ตัวเลยนะ เพราะขนมหล่านี้มีแป้ง ไขมัน และน้ำตาลในปริมาณค่อนข้างมาก จึงเสี่ยงต่อโรคอ้วน โรคเบาหวาน โรคหัวใจและหลอดเลือด เป็นต้น ควรกินแต่พอดีเช่นกัน แค่พอให้รู้รสหายอยาก ไม่เน้นกินอิ่ม
แนะนำให้กินพวกผักผลไม้ หรือธัญพืชให้มากขึ้น แบบตะกาฟุลเมืองไทย เพราะผักผลไม้มีวิตามิน เกลือแร่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งมีใยอาหารสูง ช่วยกระตุ้นให้มีการขับถ่ายของเสียทุกวัน ช่วยให้ขจัดสารพิษที่ตกค้างอยู่ในลำไส้ ลดความเสี่ยงในการเกิดโรคมะเร็ง โดยเฉพาะโรคมะเร็งลำไส้ อีกทั้งยังช่วยจับคอเลสตอรอลและไขมัน เพื่อขับออกจากร่างกายอีกด้วย
ในวันตรุษจีนก่อนที่จะมีอาหารหรือขนมของไหว้ที่แสนอร่อยนั้น เมนูเหล่านั้นจะต้องผ่านกรรมวิธีต่าง ๆ ที่ช่วยให้อาหารหรือขนมดูสดใหม่และอร่อยขึ้น ดังนั้นเราควรต้องระวังสารปนเปื้อนเหล่านี้ เพราะสารบางอย่างอาจอันตรายถึงชีวิตได้
ฟอร์มาลีน
พบมากในอาหารทะเล ผักผลไม้ ทำให้อาหารดูสดใหม่ แต่มีอันตรายต่อตับ ไต หัวใจ สมองและทางเดินอากาศอักเสบ หากรับสารมากไปอาจทำให้เสียชีวิตได้
บอแรกซ์
พบในลูกชิ้น ตังกวยแฉะ ทำให้เกิดอาการเป็นพิษเฉียบพลัน อาเจียน ท้องเสีย มีผลถึงขั้นทำให้เสียชีวิต
สารฟอกขาว
พบในถั่วงอก เต้าหู้ หน่อไม้จีน ทำให้เกิดอาการอักเสบบริเวณอวัยวะที่สัมผัส เช่น ปาก กระเพาะอาหาร เกิดอาการแน่นหน้าอก ปวดท้อง อาเจียน มีผลถึงขั้นทำให้เสียชีวิต
สารกันรา
พบในผักดอง ผลไม้ดอง มีผลต่อเยื่อบุกระเพาะอาหารและลำไส้ได้
ยาฆ่าแมลง
พบในผักสด ผลไม้สดและปลาหมึกแห้ง หากได้รับสารมากไป อาจมีอาการชัก หายใจติดขัด และก่อให้เกิดโรคมะเร็งได้
โควิดก็ยังมีเทศกาลก็ต้องเข้าร่วม แบบนี้ต้องยิ่งระวังกันมากขึ้น โดยเฉพาะในเรื่องของการปรุงอาหารให้สะอาด ตามข้อแนะนำขององค์การอนามัยโลก (WHO) ดังนี้
ต้องรักษาความสะอาด ควรล้างมือก่อนกิน และก่อนเตรียมอาหารทุกครั้ง บริเวณเตรียมอาหารต้องสะอาด โดยเฉพาะจาน โต๊ะ เขียง เพื่อป้องกันจุลินทรีย์ที่อาจติดมาได้
แยกอาหารที่ปรุงสุกแล้วออกจากอาหารดิบ เพราะอาจมีเชื้อจุลินทรีย์ปนเปื้อนอยู่
ปรุงอาหารให้สุกทั่วถึง ที่อุณหภูมิ 70 องศาเซลเซียส โดยเฉพาะอาหารประเภทเนื้อ เนื้อไก่ ไข่ และอาหารทะเล ต้องสุกถึงด้านใน ซึ่งการปรุงที่ถูกวิธีและถูกสุขลักษณะจะทำลายเชื้อจุลินทรีย์ที่เป็นอันตรายได้เกือบทุกชนิด
เก็บอาหารในอุณหภูมิที่เหมาะสม
ใช้น้ำสะอาดและวัตถุดิบที่ปลอดภัยในการปรุงอาหาร การเลือกวัตถุดิบในการปรุงอาหารอย่างถูกวิธีและการปฏิบัติตามหลักสุขอนามัย จช่วยะลดความเสี่ยงจากสารปนเปื้อนในอาหารได้
จะเห็นได้ว่าอาหารบางชนิดแม้จะอร่อยแค่ไหน แต่ก็อาจให้โทษกับสุขภาพได้ ดังนั้นจึงขึ้นอยู่กับการเลือกกินของเรา ควรกินแต่พอดี เน้นอาหารที่มีประโยชน์ และควรหมั่นออกกำลังกายเพื่อไม่ให้เกิดไขมันสะสมที่จะนำไปสู่โรคร้ายต่าง ๆได้
ซึ่งวันตรุษจีนนี้ถือว่าเป็นวันรวมญาติที่หลาย ๆ ครอบครัวจะมาร่วมเฉลิมฉลองกันในเทศกาลนี้ แต่ด้วยสถานการณ์ปัจจุบัน หลายครอบครัวอาจจะต้องเปลี่ยนเป็นการเจอกันผ่าน ช่องทาง online แทน ดังนั้นเราควรหมั่นดูแลสุขภาพให้แข็งแรงอยู่เสมอ หรือมอบประกันสุขภาพให้กับคนที่เรารักแทนความห่วงใยที่มี ด้วยประกันสุขภาพแบบเหมาจ่าย คุ้มครอง โรคร้ายแรง โรคทั่วไป และอุบัติเหตุ เลือกแผนความคุ้มครองได้ตามต้องการตั้งแต่ 200,000 บาท ถึง 100,000,000 บาท สมัครได้ถึงอายุ 90 ปี* คุ้มครองสุขภาพยาว ๆ ต่อเนื่องถึงอายุ 99 ปี* พร้อมลดหย่อนภาษีได้สูงสุด 25,000 บาทต่อปี
สำนักงาน คปภ. ปรับมาตรฐานระบบสินไหมทดแทนอัตโนมัติ (E-claim)
เพื่อบรรเทาความเดือดร้อนของประชาชน
สำนักงานคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (คปภ.) พัฒนาระบบสินไหมทดแทนอัตโนมัติ (E-claim) เพื่อบรรเทาความเดือดร้อนให้แก่ผู้ประสบภัยจากรถ ในการเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาลให้ได้เต็มวงเงินความคุ้มครองตามที่จ่ายจริง แต่ไม่เกิน 50,000 บาท โดยไม่ต้องรอพิสูจน์ความถูกผิด
นางจันทรา บูรณฤกษ์ เลขาธิการ คปภ. เปิดเผยว่า สำนักงาน คปภ.ร่วมกับหน่วยงานภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวข้อง จัดตั้งคณะทำงานพัฒนาระบบสินไหมทดแทนอัตโนมัติ (E-claim) เพื่อให้ประชาชนได้รับความสะดวก รวดเร็ว และบรรเทาความเดือดร้อนของประชาชนผู้ประสบภัยจากรถที่ต้องสำรองค่ารักษาพยาบาลไปก่อน โดยคณะกรรมการดังกล่าวฯ จะร่วมกันกำหนดแนวทางและพิจารณาหลักเกณฑ์ การเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาลผ่านระบบสินไหมทดแทนอัตโนมัติ (E-claim) ซึ่งจากเดิมการเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาลเบื้องต้น ผู้ประสบภัยจากรถจะได้รับความคุ้มครองตามที่จ่ายจริง ในวงเงินไม่เกิน 15,000 บาท โดยไม่ต้องรอพิสูจน์ความถูกผิด ให้สามารถขยายวงเงินการเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาลสำหรับผู้ประสบภัยจากรถ ให้ได้รับความคุ้มครองตามที่จ่ายจริงในวงเงินไม่เกิน 50,000 บาท โดยไม่ต้องรอพิสูจน์ความถูกผิดให้เป็นมาตรฐานเดียวกันทั่วประเทศและสามารถตรวจสอบได้ เพื่อประโยชน์ของประชาชนและผู้ประสบภัยจากรถต่อไป
เลขาธิการ คปภ. กล่าวเพิ่มเติมว่า นอกจากนี้ ขอแจ้งให้ผู้เป็นเจ้าหนี้ตามสัญญาประกันภัยของบริษัท เอ.พี.เอฟ.อินเตอร์เนชั่นแนล อินชัวรันส์ จำกัด หรือเจ้าหนี้ที่เคยร้องเรียนกับสำนักงาน คปภ. ที่ยังไม่ได้ยื่นขอรับชำระหนี้กับผู้ชำระบัญชี ให้รีบนำเอกสารต้นฉบับพร้อมทั้งสำเนาเอกสาร ประกอบด้วย กรมธรรม์ประกันภัย บัตรประจำตัวประชาชน ใบเคลม ใบนัดชำระหนี้ เอกสารอื่นใดที่แสดงถึงมูลหนี้ หนังสือรับรองการจดทะเบียนนิติบุคคล (กรณีเจ้าหนี้เป็นนิติบุคคล) หรือหนังสือมอบอำนาจพร้อมบัตรประชาชนผู้มอบอำนาจและผู้รับมอบอำนาจ (กรณีไม่สามารถมายื่นได้ด้วยตนเอง) มายื่นคำขอรับชำระหนี้กับผู้ชำระบัญชี ภายในวันที่ 3 มีนาคม 2554 ทั้งนี้ เพื่อไม่ให้เป็นการเสียประโยชน์แก่ประชาชนและผู้เอาประกันภัย
หากมีข้อสงสัยสามารถสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ สายด่วนประกันภัย 1186
คปภ. เผยภาวะธุรกิจประกันภัยไทยปี 53 โตร้อยละ 14.24 คาดการณ์ปี 54 โตร้อยละ 16.23
นางจันทรา บูรณฤกษ์ เลขาธิการคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (คปภ.) เปิดเผยว่า ธุรกิจประกันภัยไทยไตรมาส 4 ปี 2553 มีเบี้ยประกันภัยรับรวมจำนวนทั้งสิ้น 120,179 ล้านบาท โดยขยายตัวร้อยละ 17.88 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน (yoy) หรือร้อยละ 15.68 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของไตรมาสก่อน (qoq)
โดยธุรกิจประกันชีวิต มีเบี้ยประกันภัยรับรวมจำนวนทั้งสิ้น 84,778 ล้านบาท ซึ่งขยายตัวร้อยละ 17.32 (yoy) หรือ ร้อยละ 14.84 (qoq) และธุรกิจประกันวินาศภัยมีเบี้ยประกันภัยรับจำนวนทั้งสิ้น 35,401 ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 19.26 (yoy) หรือ ร้อยละ 17.75 (qoq)
เมื่อรวมทั้งปี 2553 ธุรกิจประกันภัยมีเบี้ยประกันภัยรับโดยตรง จำนวนรวมทั้งสิ้น 421,042 ล้านบาท ขยายตัวจากปีก่อนร้อยละ 14.24 และมีสัดส่วนเบี้ยประกันภัยต่อ GDP อยู่ที่ระดับ 4.21 โดยแบ่งเป็นเบี้ยประกันชีวิต จำนวน 296,106 ล้านบาท ขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 14.53 และเบี้ยประกันวินาศภัย จำนวน 124,936 ล้านบาท ขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 13.54
โดยธุรกิจประกันภัย ในปี 2553 มีจำนวนกรมธรรม์ประกันภัยรวมทั้งสิ้น 55,453,338
ราย ขยายตัวร้อยละ 6.74 เมื่อเทียบกับช่วงระยะเวลาเดียวกันของปีก่อน คิดเป็นจำนวนเงินเอาประกันภัยรวมทั้งสิ้น 68,780,921 ล้านบาท โดยขยายตัวจากปีก่อนร้อยละ 8.54 แบ่งเป็นกรมธรรม์ประกันชีวิต 18,078,137 ราย ขยายตัวจากปีก่อนร้อยละ 5.33 คิดเป็นอัตราส่วนจำนวนกรมธรรม์ต่อจำนวนประชากรร้อยละ 28.40 และกรมธรรม์ประกันวินาศภัย 37,375,201 ราย ขยายตัวจากปีก่อนร้อยละ 7.43 คิดเป็นจำนวนเงินเอาประกันภัยทั้งสิ้น 60,944,723 ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 7.49
สำหรับแนวโน้มธุรกิจประกันภัยในปี 2554 คาดว่าจะสามารถขยายตัวได้ประมาณร้อยละ 16.23 คิดเป็นจำนวนเบี้ยประกันภัย 489,389 ล้านบาท เป็นการขยายตัวของธุรกิจประกันชีวิตร้อยละ 18.74 เป็นเบี้ยประกันภัยรับโดยตรงประมาณ 351,590 ล้านบาท และธุรกิจประกันวินาศภัยขยายตัวร้อยละ 10.30 เป็นเบี้ยประกันภัยรับโดยตรงประมาณ 137,799 ล้านบาท และมีสัดส่วนเบี้ยประกันภัยต่อ GDP อยู่ที่ระดับ 4.67
เลขาธิการ คปภ. กล่าวเพิ่มเติมว่า การที่ธุรกิจประกันภัยสามารถขยายตัวได้ดีอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้ เป็นผลจากปัจจัยทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศ ซึ่งประกอบด้วย มาตรการเชิงรุกของสำนักงาน คปภ. ที่มุ่งเน้นการสร้างความเข้มแข็งให้กับระบบประกันภัยไทยโดยจัดทำโครงการประกันภัยสู่ประชาชน กระจายไปยังภูมิภาคต่าง ๆ ทั่วประเทศ เพื่อเสริมสร้างความรู้ด้านการประกันภัยให้กับประชาชน การพัฒนาช่องทางการจำหน่าย การให้บริการแบบครบวงจร การพัฒนาผลิตภัณฑ์ประกันภัยให้สอดคล้องกับความต้องการตามกำลังซื้อของประชาชน และการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลกที่มีการขยายตัวอย่างต่อเนื่อง เป็นต้น
ทั้งนี้ หากมีข้อสงสัยสามารถสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่สายด่วนประกันภัย 1186
คปภ. เร่งพิจารณามาตรฐานการจ่ายค่าสินไหมทดแทน ให้เป็นมาตรฐานเดียวกันทั่วประเทศ
ฝ่ายสื่อสารองค์กร
โทร. 02-513-1680
สำนักงาน คปภ. รุกแผนพัฒนากลไกด้านการคุ้มครองสิทธิประโยชน์จากการทำประกันภัย จัดตั้งคณะกรรมการกำหนดกรอบมาตรฐานการจ่ายค่าสินไหมทดแทนร่วมกับภาคเอกชน เพื่อให้เป็นมาตรฐานเดียวกันทั่วประเทศ
นางจันทรา บูรณฤกษ์ เลขาธิการคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (คปภ.) เปิดเผยว่าในปี 2554 สำนักงาน คปภ. ได้กำหนดแผนพัฒนากลไกด้านการคุ้มครองประชาชน ให้ได้รับความคุ้มครองตามสัญญาประกันภัยอย่างเป็นธรรม รวดเร็ว สะดวก และโปร่งใส ดังนั้น สำนักงาน คปภ. จึงได้มีคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณากำหนดกรอบมาตรฐานการจ่ายค่าสินไหมทดแทน ซึ่งประกอบด้วยผู้แทนจากสำนักงาน คปภ. และภาคธุรกิจประกันภัย เพื่อพิจารณากำหนดกรอบมาตรฐานการพิจารณาจ่ายค่าสินไหมทดแทนให้กับประชาชนผู้ประสบภัยจากรถที่เสียชีวิตและทุพลภาพถาวร ให้สอดคล้องกับสภาวการณ์ทางเศรษฐกิจและสังคมในปัจจุบัน
เลขาธิการ คปภ. กล่าวเพิ่มเติมว่า “ปัจจุบันคนไทยมีมาตรฐานการครองชีพ การศึกษา รวมถึงรายได้ดีขึ้น การพิจารณาจ่ายค่าสินไหมทดแทนของบริษัทประกันภัย จึงควรมีมาตรฐานการจ่ายที่เหมาะสมมากยิ่งขึ้นตามไปด้วย ซึ่งภาคธุรกิจประกันภัยมีแนวคิดเช่นเดียวกันที่จะยกระดับมาตรฐานการจ่ายค่าสินไหมทดแทนให้แก่ประชาชนให้ได้รับประโยชน์สูงสุด ส่วนในเรื่องเบี้ยประกันภัยนั้น ได้มอบนโยบายให้คณะกรรมการฯ พิจารณาเพื่อให้เกิดความเหมาะสม และไม่ให้เกิดผลกระทบต่อผู้เอาประกันภัย ต่อไป
สำนักงาน คปภ. เปิดตัวสถาบันวิทยาการประกันภัยระดับสูง
(OIC Advanced Insurance Institute)
นางจันทรา บูรณฤกษ์ เลขาธิการคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย(คปภ.) ได้แถลงเปิดตัวสถาบันวิทยาการประกันภัยระดับสูง ของสำนักงานคปภ. มีชื่อเป็นภาษาอังกฤษว่า OIC Advanced Insurance Institute (OICAII) ที่จัดตั้งขึ้นตามมติของคณะกรรมการ คปภ. เพื่อส่งเสริมโครงสร้างด้านพื้นฐานด้านการประกันภัย ตามแผนพัฒนาการประกันภัยฉบับที่ 2 (พ.ศ.2553 – พ.ศ. 2557)
เลขาธิการสำนักงาน คปภ. กล่าวว่าสถาบันวิทยาการประกันภัยระดับสูง เป็นหน่วยงานหนึ่งของสำนักงาน คปภ. มีหน้าที่หลักในการเป็นศูนย์กลางการฝึกอบรมและพัฒนาบุคลากรด้านประกันภัยระดับสูงของประเทศ ทั้งด้านความรู้ จริยธรรม และเพิ่มทักษะด้านการประกันภัยระดับสูงให้แก่บุคลากรประกันภัยทุกฝ่าย รวมทั้งเป็นศูนย์กลางด้านวิชาการประกันภัย เพื่อให้บุคลากรประกันภัยและประชาชนทั่วไปสามารถใช้ประโยชน์จากสถาบันฯ ในการเป็นแหล่งศึกษาหาความรู้ ค้นคว้าข้อมูลด้านการประกันภัย
นอกจากนี้ สถาบันฯ อยู่ระหว่างการดำเนินการประสานความร่วมมือในการพัฒนา
หลักสูตรโดยได้ร่วมมือกับสถาบันการศึกษาและหน่วยงานต่างๆ ทั้งในและต่างประเทศ อาทิ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA) สมาคมนักคณิตศาสตร์ประกันภัยในประเทศเยอรมนี (DAV) ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลท.) สถาบันพัฒนาผู้ประกอบการเชิงสร้างสรรค์ (CEDI) ของมหาวิทยาลัยกรุงเทพ ที่มีความร่วมมือกับมหาวิทยาลัย BABSON College มหาวิทยาลัยอันดับหนึ่งในด้านการพัฒนาผู้ประกอบการในสหรัฐอเมริกา และหน่วยงานที่กำกับดูแลในต่างประเทศ เพื่อที่จะได้จัดเตรียมหลักสูตรการอบรมเพื่อพัฒนาความรู้ จรรยาบรรณ สำหรับเป็นมืออาชีพของตัวแทน/นายหน้าประกันภัย นักคณิตศาสตร์ประกันภัย ที่ปรึกษาประกันภัย (Insurance Advisor) นักวางแผนประกันภัย (Insurance Planner) และผู้บริหารระดับสูง (Insurance Executive Program) รวมทั้งหลักสูตรพิเศษ อื่นๆ ที่สำนักงาน คปภ. จัดขึ้น
เลขาธิการ สำนักงาน คปภ. กล่าวเพิ่มเติมว่าสถาบันวิทยาการประกันภัยระดับสูง จะเป็น
หน่วยงานสำคัญในการพัฒนาศักยภาพบุคลากรของธุรกิจประกันภัย เพื่อทำให้ธุรกิจประกันภัยมีความพร้อมในการแข่งขันเมื่อมีการเปิดเสรีธุรกิจประกันภัยและมีความเจริญเติบโตอย่างยั่งยืน
สำนักงาน คปภ. โดยสถาบันวิทยาการประกันภัยระดับสูง
เปิดอบรมหลักสูตร ที่ปรึกษาด้านการประกันภัย รุ่นที่ 1/2554
นางจันทรา บูรณฤกษ์ เลขาธิการคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (คปภ.) เปิดเผยว่า ตามที่สำนักงาน คปภ. โดยสถาบันวิทยาการประกันภัยระดับสูง ได้จัดทำหลักสูตรที่ปรึกษาประกันภัย (Insurance Advisor) เพื่อยกระดับและเพิ่มประสิทธิภาพของคนกลางประกันภัยให้มีความพร้อมในทุกๆ ด้าน โดยมีหลักสูตรพิเศษที่เป็นมาตรฐานสากล ทั้งทางด้านทักษะความรู้ ด้านการลงทุนในตราสารทางการเงินประเภทต่างๆ กฎหมายประกันภัย ผลิตภัณฑ์ประกันภัยทั้งชีวิต/วินาศภัย การวางแผนบริหารความเสี่ยงให้กับลูกค้า การให้คำปรึกษา แนะนำแนวทางแก้ไขปัญหา รวมทั้งวางแผนการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบ ด้วยองค์ความรู้และฐานข้อมูลที่ถูกต้องจากวิทยากรที่มีประสบการณ์ ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน อันเป็นการเสริมสร้างศักยภาพและความน่าเชื่อถือให้กับคนกลางประกันภัยเพิ่มขึ้น ซึ่งขณะนี้ สถาบันวิทยาการประกันภัยระดับสูง จะเปิดรับสมัครอบรมหลักสูตรที่ปรึกษาด้านการประกันภัย รุ่นที่ 1/2554 ตั้งแต่วันที่ 3-20 พฤษภาคม 2554 และเริ่มอบรมในเดือนมิถุนายน-กรกฎาคม 2554 โดยผู้ที่สมัครเข้ารับการอบรมจะต้อง 1) เป็นตัวแทน/นายหน้าประกันภัยที่มีใบอนุญาตฯ ทั้งการประกันชีวิตและการประกันวินาศภัย 2) ผ่านการต่ออายุตั้งแต่ครั้งที่ 3 เป็นต้นไป และ 3) ในใบใดใบหนึ่งต้องผ่านการต่ออายุใบอนุญาตฯ ครั้งที่ 4 เป็นต้นไป
ทั้งนี้ ผู้ที่ผ่านการอบรมหลักสูตรดังกล่าว จะได้รับสิทธิประโยชน์ อาทิ ได้รับประกาศนียบัตรพร้อมบัตรทองตัวแทน/นายหน้าประกันชีวิต และประกันวินาศภัย สามารถนำหนังสือรับรองการผ่านหลักสูตรฯ มาขอต่ออายุใบอนุญาตฯ ได้ในเฉพาะครั้งต่อไป และสามารถใช้ทดแทนการอบรมเพื่อขอขึ้นทะเบียนเป็นผู้ขายกรมธรรม์ประกันชีวิตแบบยูนิเวอร์แซลไลฟ์ (Universal Life Insurance) และ/หรือ กรมธรรม์ประกันชีวิตควบการลงทุน (Unit Linked Life Policy)
สนใจสอบถามรายละเอียดเพิ่มได้ที่ สถาบันวิทยาการประกันภัยระดับสูง หมายเลขโทรศัพท์ 02-515-3999 ต่อ 7611 หรือ E-mail Address : OICAII@oic.or.th หรือสายด่วนประกันภัย 1186
>> เสริมความมั่นใจไปกับประกันสุขภาพแบบเหมาจ่าย คุ้มครอง โรคร้ายแรง โรคทั่วไป และอุบัติเหตุ เลือกแผนความคุ้มครองได้ตามต้องการตั้งแต่ 200,000 บาท ถึง 100,000,000 บาท สมัครได้ถึงอายุ 90 ปี คุ้มครองสุขภาพยาว ๆ ต่อเนื่องถึงอายุ 99 ปี* พร้อมลดหย่อนภาษีได้สูงสุด 25,000 บาทต่อปี
ตัวอย่างค่าเบี้ย เพศหญิงอายุ 35 ปี สุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง วันละไม่ถึง 59 บาท
เลือกความคุ้มครองสุขภาพ ดี เฮลท์ พลัส แผนความคุ้มครอง 5 ล้านบาท
โดยเป็นวงเงินต่อการรักษาแบบครั้งใดครั้งหนึ่ง และชำระเบี้ยประกันภัยรายปี
เลือกประกันสุขภาพเหมาจ่าย เลือกเมืองไทยประกันชีวิต
ไม่ว่าอาชีพอะไร ไลฟ์สไตล์แบบไหน
เมืองไทยประกันชีวิตเข้าใจทุกความต้องการในแบบคุณ
*เฉพาะสัญญาเพิ่มเติมการประกันภัยสุขภาพแบบ อีลิท เฮลท์ พลัส หรือแบบ ดี เฮลท์ พลัส
สัญญาเพิ่มเติมสุขภาพ ต้องซื้อแนบท้ายกรมธรรม์ที่มีผลบังคับอยู่
ความคุ้มครองของสัญญาเพิ่มเติมต้องไม่เกินระยะเวลาเอาประกันภัยของกรมธรรม์ประกันชีวิตที่สัญญาเพิ่มเติมนี้แนบท้าย
เบี้ยประกันภัยสามารถนำไปใช้สิทธิลดหย่อนภาษีได้ ทั้งนี้ หลักเกณฑ์เป็นไปตามที่กรมสรรพากร กำหนด
การพิจารณารับประกันภัยเป็นไปตามหลักเกณฑ์ของบริษัทฯ
เงื่อนไขเป็นไปตามมาตรฐานและความจำเป็นทางการแพทย์
เงื่อนไขเป็นไปตามที่ บมจ.เมืองไทยประกันชีวิตและธนาคารกำหนด
โปรดศึกษารายละเอียดความคุ้มครอง เงื่อนไข และข้อยกเว้นก่อนตัดสินใจทำประกันภัย
>> เสริมความมั่นใจด้วยประกันสุขภาพแบบเหมาจ่าย คุ้มครอง โรคร้ายแรง โรคทั่วไป และอุบัติเหตุ เลือกแผนความคุ้มครองได้ตามต้องการตั้งแต่ 200,000 บาท ถึง 100,000,000 บาท สมัครได้ถึงอายุ 90 ปี* คุ้มครองสุขภาพยาว ๆ ต่อเนื่องถึงอายุ 99 ปี* พร้อมลดหย่อนภาษีได้สูงสุด 25,000 บาทต่อปี
ตัวอย่างค่าเบี้ย เพศหญิงอายุ 35 ปี วันละไม่ถึง 59 บาท
เลือกความคุ้มครองสุขภาพ ดี เฮลท์ พลัส แผนความคุ้มครอง 5 ล้านบาท
โดยเป็นวงเงินต่อการรักษาแบบครั้งใดครั้งหนึ่ง และชำระเบี้ยประกันภัยรายปี
เลือกประกันสุขภาพเหมาจ่าย เลือกเมืองไทยประกันชีวิต
Whatever’s Next, MTL’s NEXT to You
พร้อมพัฒนาในทุกด้าน เพื่อก้าวเดินไปพร้อมคุณ
>> เสริมความมั่นใจไปกับ เหมาจ่าย เอ็กซ์ตร้า คุ้มครองทั้งโรคร้ายแรง โรคระบาด โรคฝีดาษลิง โรคอุบัติใหม่ โรคทั่วไป และอุบัติเหตุ พร้อมดูแลค่ารักษาแบบเหมาจ่ายครึ่งล้าน(1) เบี้ยวันละไม่ถึง 42 บาท(2)
ซื้อความคุ้มครองเพิ่มได้ ทั้งชดเชยรายวัน คุ้มครองกรณีผู้ป่วยนอก OPD หรือคุ้มครองโรคร้าย Multiple CI ก็เลือกได้ตามใจ ไม่ต้องกังวลเรื่องค่ารักษาหรือสูญเสียรายได้หากต้องลาหยุด เลือกจ่ายแบบรายเดือนได้สบาย ๆ ตามที่ไหว
คุ้มครองแบบเหมาจ่ายตามจริง 500,000 บาท(1)
ค่าห้อง 4,000 บาทต่อวัน(1) และรับเพิ่ม 2 เท่า หากเข้าพักในห้อง ICU
คุ้มครองเยอะขนาดนี้ แต่จ่ายเบี้ยประกันภัยแบบสบายๆ เลือกจ่ายแบบรายเดือนก็ได้
ซื้อวันนี้ผ่อนค่าเบี้ยสบาย ๆ 0% นานสูงสุด 6 เดือน หรือรับเครดิตเงินคืนสูงสุด 13%
(1) สำหรับแผนความคุ้มครอง 3 โดยเป็นวงเงินต่อการรักษาแบบผู้ป่วยในครั้งใดครั้งหนึ่ง
(2) สำหรับผู้เอาประกันภัยเพศหญิง 30 ปี เลือกแผนความคุ้มครอง 3 และชำระเบี้ยประกันรายปี
โครงการเหมาจ่าย เอ็กซ์ตร้า เป็นชื่อทางการตลาดของสัญญาเพิ่มเติมการประกันสุขภาพ แบบ เอ็กตร้าแคร์ (N)
ความคุ้มครองของสัญญาเพิ่มเติมต้องไม่เกินระยะเวลาเอาประกันภัยของกรมธรรม์ประกันชีวิตที่สัญญาเพิ่มเติมนี้แนบท้าย
เบี้ยประกันภัยสามารถนำไปใช้สิทธิหักลดหย่อนภาษีได้ ทั้งนี้ หลักเกณฑ์เป็นไปตามที่กรมสรรพากร กำหนด
เงื่อนไขความคุ้มครองเป็นไปตามที่ระบุไว้ในกรมธรรม์
การพิจารณารับประกันภัยเป็นไปตามหลักเกณฑ์ของบริษัทฯ
เงื่อนไขเป็นไปตามมาตรฐานและความจำเป็นทางการแพทย์
เงื่อนไขเป็นไปตามที่ บมจ.เมืองไทยประกันชีวิตและธนาคารกำหนด
โปรดศึกษารายละเอียดความคุ้มครอง เงื่อนไข และข้อยกเว้นก่อนตัดสินใจทำประกันภัย