Elite Health Plus เมืองไทยประกันชีวิต ประกันสุขภาพ สมัครประกันชีวิตออนไลน์ ประกันชีวิตออนไลน์ ขายประกันชีวิต เกลือแร่ แค่เลือกให้ถูกจะดีต่อร่างกาย สุขภาพชอบเล่นกีฬา
อากาศร้อน ๆ แบบนี้ยิ่งทำให้เราขาดน้ำจากการสูญเสียเหงื่อ และยังเสี่ยงเป็นโรคท้องเสียได้ง่ายกว่าฤดูอื่น ๆ ซึ่งการที่ร่างกายขาดน้ำมาก ๆ ไม่ว่าจะสาเหตุจากท้องเสียหรือจากการเล่นกีฬา จะทำให้เรารู้สึกอ่อนเพลียและต้องหาเกลือแร่มาดื่มทดแทนน้ำที่เสียไปแต่เพื่อน ๆ รู้มั้ยว่า เกลือแร่แต่ละประเภทแตกต่างกันยังไง และอาการป่วยแบบไหนต้องกินเกลือแร่อะไร วันนี้เมืองไทยประกันชีวิตมีข้อมูลมาแนะนำกัน
ชนิดของเกลือแร่ที่ร่างกายต้องการ
แต่ละวันร่างกายอาจต้องการเกลือแร่ในปริมาณเพียงเล็กน้อย แต่เพียงแค่น้อยนิดก็ยังถือว่ามีความจำเป็นอย่างมากต่อร่างกาย เพราะหากวันใดร่างกายขาดเกลือแร่ขึ้นมา นั่นอาจส่งผลกระทบต่อสมดุลและระบบการทำงานต่าง ๆ ได้ ซึ่งชนิดของเกลือแร่ที่สำคัญสามารถแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มไว้ดังนี้
เกลือแร่หลัก คือ กลุ่มของแร่ธาตุที่ร่างกายต้องการมากกว่า 100 มิลลิกรัมต่อวัน ได้แก่ แคลเซียม ฟอสฟอรัส โซเดียม และคลอรีน เป็นต้น
เกลือแร่รอง คือ กลุ่มของแร่ธาตุที่ร่างกายต้องการน้อยกว่า 100 มิลลิกรัมต่อวัน แต่ก็ยังคงมีความสำคัญต่อการทำงานของร่างกาย ได้แก่ เหล็ก สังกะสี ไอโอดีน ทองแดง และซีเลเนียม เป็นต้น
ท้องเสีย ถ่ายเหลว กินเกลือแร่ออกกำลังกายแทนได้มั้ย ?
คำตอบคือ ใช้แทนกันไม่ได้นะทุกคน! Elite Health Plus
เพราะเกลือแร่ออกกำลังกายนั้นจะมีน้ำตาลที่สูงและโซเดียมที่ต่ำ หากผู้ป่วยท้องเสียกินเข้าไปก็จะส่งผลให้ลำไส้บีบตัวและท้องเสียมากขึ้น ซึ่งเกลือแร่ที่ใช้ทดแทนการสูญเสียน้ำในร่างกาย เราแบ่งได้ 2 ประเภท ดังนี้
เกลือแร่สำหรับผู้ป่วยท้องเสีย หรือโออาร์เอส (ORS) มีคุณสมบัติช่วยเพิ่มพลังงาน ให้เกลือแร่ที่มากและมีน้ำตาลที่น้อย ป้องกันความรุนแรงที่อาจเกิดขึ้นจากการสูญเสียน้ำ หรือช็อกได้
เกลือแร่ออกกำลังกาย ใช้สำหรับชดเชยการสูญเสียน้ำภายหลังการออกกำลังกายเท่านั้น ผลิตภัณฑ์มักอยู่ในรูปแบบเครื่องดื่มพร้อมดื่มบรรจุ
อย่างที่ได้กล่าวไว้ว่าเกลือแร่ออกกำลังกายมีปริมาณน้ำตาลที่สูง หากผู้ป่วยท้องเสียกินเข้าไปก็จะยิ่งทำให้ท้องเสียมากขึ้น เราจึงต้องเลือกเกลือแร่ให้เหมาะสมกับอาการที่เป็นด้วย
สไปรท์ใส่น้ำตาล ช่วยอาการท้องเสียได้จริงมั้ย?
เชื่อว่าหลายคนเมื่อมีอาการท้องเสียหรือท้องร่วง นอกจากเกลือแร่ก็จะนึกถึงการกินสไปรท์ใส่น้ำตาล เพราะคิดว่าจะสามารถชดเชยอาการสูญเสียเกลือแร่ได้ แต่รู้หรือไม่ว่าการดื่มสไปร์ทใส่น้ำตาล แทนผงน้ำตาลเกลือแร่ หรือผงเกลือแร่โออาร์เอส (ORS) เป็นวิธีที่ไม่แนะนำสำหรับทดแทนน้ำและเกลือแร่
เนื่องจากในน้ำอัดลมมีปริมาณน้ำตาลสูงกว่าผงน้ำตาลเกลือแร่ และมีการอัดก๊าซเข้าไปด้วย ซึ่งถ้าหากผู้ป่วยดื่มเข้าไปอาจทำให้เกิดอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ หรือทำให้อาการแย่ลงได้ รวมถึงควรระมัดระวังเป็นพิเศษในผู้ป่วยโรคเบาหวานและเด็กเล็กที่อาจเป็นอันตราย ดังนั้นวิธีที่ดีที่สุดเมื่อมีอาการท้องเสีย ถ่ายเหลว หรือถ่ายเป็นน้ำให้ใช้ผงเกลือแร่โออาร์เอส (ORS) จิบเป็นระยะ เพื่อป้องกันภาวะขาดน้ำและเกลือแร่อย่างรุนแรงได้
เมื่อทราบแล้วว่าเกลือแร่ ทั้ง 2 ประเภทมีหน้าที่ที่แตกต่างกัน ดังนั้นควรเลือกกินให้ถูกต้องกับอาการที่เกิดขึ้นว่าเป็นเกลือแร่สำหรับท้องเสีย หรือเกลือแร่ออกกำลังกาย ซึ่งหากกินไม่เหมาะสมอาจเกิดผลกระทบต่อร่างกาย รวมถึงควรดูแลสุขภาพและวางแผนเสริมความมั่นใจด้วยประกันสุขภาพแบบเหมาจ่าย คุ้มครอง โรคร้ายแรง โรคทั่วไป และอุบัติเหตุ เลือกแผนความคุ้มครองได้ตามต้องการตั้งแต่ 200,000 บาท ถึง 100,000,000 บาท สมัครได้ถึงอายุ 90 ปี คุ้มครองสุขภาพยาว ๆ ต่อเนื่องถึงอายุ 99 ปี* พร้อมลดหย่อนภาษีได้สูงสุด 25,000 บาทต่อปี
ตัวอย่างค่าเบี้ย เพศหญิงอายุ 35 ปี วันละไม่ถึง 59 บาท
เลือกความคุ้มครองสุขภาพ ดี เฮลท์ พลัส แผนความคุ้มครอง 5 ล้านบาท
โดยเป็นวงเงินต่อการรักษาแบบครั้งใดครั้งหนึ่ง และชำระเบี้ยประกันภัยรายปี
เลือกประกันสุขภาพเหมาจ่าย เลือกเมืองไทยประกันชีวิต
ไม่ว่าอาชีพอะไร ไลฟ์สไตล์แบบไหน
เมืองไทยประกันชีวิตเข้าใจทุกความต้องการในแบบคุณ
*เฉพาะสัญญาเพิ่มเติมการประกันภัยสุขภาพแบบ อีลิท เฮลท์ พลัส หรือแบบ ดี เฮลท์ พลัส
สัญญาเพิ่มเติมสุขภาพ ต้องซื้อแนบท้ายกรมธรรม์ที่มีผลบังคับอยู่
ความคุ้มครองของสัญญาเพิ่มเติมต้องไม่เกินระยะเวลาเอาประกันภัยของกรมธรรม์ประกันชีวิตที่สัญญาเพิ่มเติมนี้แนบท้าย
เบี้ยประกันภัยสามารถนำไปใช้สิทธิลดหย่อนภาษีได้ ทั้งนี้ หลักเกณฑ์เป็นไปตามที่กรมสรรพากร กำหนด
การพิจารณารับประกันภัยเป็นไปตามหลักเกณฑ์ของบริษัทฯ
เงื่อนไขเป็นไปตามมาตรฐานและความจำเป็นทางการแพทย์
เงื่อนไขเป็นไปตามที่ บมจ.เมืองไทยประกันชีวิตและธนาคารกำหนด
โปรดศึกษารายละเอียดความคุ้มครอง เงื่อนไข และข้อยกเว้นก่อนตัดสินใจทำประกันภัย
อุบัติเหตุสายการบินบางกอกแอร์เวย์ ไถลออกนอกรันเวย์ชนหอบังคับการบิน
เมื่อเวลา 14.11 น. ของวันที่ 4 สิงหาคม 2552 เครื่องบินเที่ยวบินบางกอกแอร์เวย์ เที่ยวบินที่ PG266 ไถลออกนอกรันเวย์ชนหอบังคับการบินหลังเก่าที่ไม่ได้ใช้การแล้ว ของสนามบินเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี ผู้โดยสารทั้งสิ้น 68 คน โดยเป็นชาวต่างชาติทั้งหมด นักบิน 2 คน ลูกเรือ 2 คน (รวม 72 คน) สาเหตุเกิดจากสภาพอากาศแปรปรวนและมีฝนตกหนัก ทัศนวิสัยไม่ดี เครื่องบินดังกล่าวบินมาจากจังหวัดกระบี่ อุบัติเหตุ ครั้งนี้มีผู้บาดเจ็บประมาณ 10 ราย บาดเจ็บสาหัส 1 ราย นำส่ง 3 โรงพยาบาล ได้แก่ โรงพยาบาลกรุงเทพเกาะสมุย โรงพยาบาลบ้านดอน และโรงพยาบาลไทยอินเตอร์สมุย โดยมีนักบินเสียชีวิต 1 ราย
สำนักงาน คปภ. รายงานพอสรุปได้ดังนี้
1. ผอ.สำนักงาน คปภ. จังหวัดสุราษฏร์ธานีได้เดินทางเข้าพื้นที่เพื่ออำนวยความสะดวกและประสานกับบริษัทประกันภัยแล้ว
2. การประกันภัยได้ทำไว้กับบริษัทกรุงเทพประกันภัยซึ่งบริษัทได้ทำประกันภัยต่อไว้ที่ตลาดลอนดอน แบ่งออกเป็น 2 ส่วน
2.1 การประกันตัวเครื่องบินมูลค่าประมาณ 12 ล้านเหรียญสหรัฐหรือ 408 ล้านบาท
(1 เหรียญสหรัฐ = 34 บาท)
2.2 การประกันความรับผิดต่อบุคคลภายนอก(liability) (คุ้มครองชีวิตและทรัพย์สิน) วงเงินเอาประกันมีมูลค่า 250 ล้านเหรียญสหรัฐหรือ 8,500 ล้านบาท การประกันภัยสำหรับผู้โดยสารในกรณีเสียชีวิตจ่ายตามฐานานุรูปซึ่งต้องมีการพิสูจน์ก่อนการจ่ายค่าสินไหมทดแทนและค่ารักษาพยาบาลจ่ายตามจริง
บริษัทได้ทำประกันส่วนบุคคล (PA) สำหรับกัปตันและลูกเรือ ไว้ดังนี้เมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2551 ที่ผ่านมา นับเป็นครั้งแรกที่ประเทศไทย โดยสำนักงานคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย ได้มีการลงนามในบันทึกความเข้าใจ (Memorandum of Understanding: MoU) กับ National Association of Insurance Commissioners (NAIC) ประเทศสหรัฐอเมริกา
โดยนางจันทรา บูรณฤกษ์ เลขาธิการคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย และ Commissioner Sandy Praeger ประธาน NAIC ได้ลงนามในบันทึกความเข้าใจฯ ดังกล่าว ในระหว่างการประชุม NAIC Summer National Meeting ณ เมืองซานฟรานซิสโก ประเทศสหรัฐอเมริกา โดยมีนายทะเบียนประกันภัยจากทุกมลรัฐ จำนวน 50 ท่าน ร่วมเป็นสักขีพยาน
การลงนามในบันทึกความเข้าใจฯ ในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมความร่วมมือด้านการกำกับดูแลธุรกิจประกันภัยระหว่างประเทศไทยและสหรัฐอเมริกา ซึ่งในบันทึกความเข้าใจฯ ฉบับนี้ ครอบคลุมถึงความร่วมมือในการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างหน่วยงาน การให้ความช่วยเหลือทางวิชาการด้านต่างๆ รวมถึงการพัฒนาบุคลากรประกันภัย โดยที่ผ่านมา สำนักงาน คปภ. ได้ส่งเจ้าหน้าที่จำนวน 2 ท่านเข้าร่วมโครงการ NAIC’s International Internship Program (Spring 2008) เพื่อพัฒนาความรู้ความสามารถด้านการกำกับดูแลร่วมกับหน่วยงานกำกับดูแลประกันภัยในรัฐต่างๆ
ทั้งนี้ NAIC เป็นองค์กรนายทะเบียนประกันภัยของทุกๆ มลรัฐในสหรัฐอเมริกา ได้รับการจัดตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2414 เพื่อเป็นศูนย์กลางความร่วมมือด้านกฎระเบียบและการให้ความคุ้มครองผู้เอาประกันภัยระหว่างรัฐ
เมื่อต้นเดือนกรกฎาคม 2552 ที่ผ่านมา คณะผู้แทนสำนักงานคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย นำโดยนางจันทรา บูรณฤกษ์ เลขาธิการ ได้เดินทางไปลงนามในบันทึกความเข้าใจ (Memorandum of Understanding: MoU) 2 ฉบับ ณ ประเทศสหรัฐอเมริกา และแคนาดา ประกอบด้วย บันทึกความเข้าใจระหว่างสำนักงาน คปภ. กับ New York State Insurance Department (NYSID) ประเทศสหรัฐอเมริกา และบันทึกความเข้าใจ กับ The Office of the Superintendent of Financial Institutions (OSFI) ประเทศแคนาดา
การลงนามในบันทึกความเข้าใจฯ ในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมความร่วมมือด้านการกำกับดูแลธุรกิจประกันภัย และพัฒนาระบบการกำกับดูแลธุรกิจประกันภัยให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยในบันทึกความเข้าใจฯ นี้ จะครอบคลุมถึงความร่วมมือในการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างหน่วยงาน วิธีการเข้าตรวจสอบ ณ ที่ทำการธุรกิจ อาชญากรรมทางการเงิน และการพัฒนาบุคลากร
ทั้งนี้ NYSID ประเทศสหรัฐอเมริกา จัดตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2403 มีหน้าที่ในการกำกับดูแลธุรกิจประกันภัยในมลรัฐนิวยอร์ค และส่งเสริมธุรกิจประกันภัยให้มีการเจริญเติบโต รวมทั้ง กำกับดูแลให้บริษัทประกันภัยมีความมั่นคง ให้การคุ้มครองผู้เอาประกันภัยจากบริษัทประกันภัยที่มีปัญหาทางด้านการเงิน ลดการฉ้อฉล อาชญากรรม และการประพฤติมิชอบในธุรกิจประกันภัย
สำหรับ OSFI ประเทศแคนาดา จัดตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2530 มีหน้าที่กำกับดูแลสถาบันการเงิน ธนาคารพาณิชย์ ธุรกิจประกันภัย และธุรกิจบำนาญให้มีความมั่นคง รวมถึงการคุ้มครองสิทธิประโยชน์ของผู้บริโภคในภาคการเงิน
“คุ้มค่าและปลอดภัย ด้วยประกันภัย พ.ร.บ.”
สำนักงาน คปภ. ขอเชิญชวนให้ประชาชนส่งสำเนาตารางกรมธรรม์ประกันภัยรถตาม พ.ร.บ. มาร่วมชิงเงินรางวัล เพียงเขียนชื่อ ที่อยู่ หมายเลขโทรศัพท์ หรือ e-mail ที่สะดวกต่อการติดต่อ ไว้ด้านหลังสำเนาตารางกรมธรรม์ประกันภัยให้ชัดเจน แล้วส่งมาที่ไปรษณีย์ที่ตู้ ปณ. 22 นนทบุรี 11000 ภายในวันที่ 6 กันยายน 2552 หรือส่งโดยตรงที่ สำนักงาน คปภ. จังหวัดทุกแห่ง ภายในวันที่ 1 กันยายน 2552 โดยมีหลักเกณฑ์ ดังนี้
ข้อ 1 กรมธรรม์ประกันภัยรถที่มีสิทธิ์จับรางวัล
1.1 เป็นสำเนาตารางกรมธรรม์ประกันภัยคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ (ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535) ) แบบมาตรฐาน หรือแบบ PVR Slip ทั้งนี้ กรมธรรม์ประกันภัยดังกล่าวจะต้องยังมีผลบังคับอยู่ ณ วันที่ทำการจับรางวัล
1.2 สำเนาตารางกรมธรรม์ประกันภัยที่ส่งเข้าร่วมชิงรางวัลต้องสามารถอ่านรายละเอียดการเอาประกันภัยที่ระบุไว้ได้อย่างชัดเจน โดยผู้เอาประกันภัยสามารถส่งได้หนึ่งสิทธิ์ต่อหนึ่งกรมธรรม์ประกันภัย
1.3 ผู้เอาประกันภัยต้องระบุ ชื่อ นามสกุล ที่อยู่ และหมายเลขโทรศัพท์ หรือ e-mail ที่สะดวกต่อการติดต่อไว้ด้านหลังสำเนาตารางกรมธรรม์ประกันภัยให้ชัดเจน
1.4 การส่งสำเนาตารางกรมธรรม์ประกันภัย มี 2 ช่องทาง ดังนี้
1.4.1. ส่งได้ทางไปรษณีย์ที่ตู้ ปณ. 22 นนทบุรี 11000 ภายในวันที่ 6 กันยายน 2552
โดยถือวันที่ประทับตราจัดส่งเอกสารจากที่ทำการไปรษณีย์เป็นเกณฑ์
1.4.2. ส่งได้ที่สำนักงาน คปภ.ภาค หรือสำนักงาน คปภ.จังหวัดทุกแห่ง ภายในวันที่ 1 กันยายน 2552
ข้อ 2 ผู้มีสิทธิรับรางวัล
2.1 ผู้เอาประกันภัยที่มีชื่อระบุอยู่ในสำเนาตารางกรมธรรม์ประกันภัย ทั้งนี้ ไม่รวมถึงพนักงานและลูกจ้างของสำนักงาน คปภ.
2.2 ผู้เอาประกันภัยมีสิทธิได้รับรางวัลสูงสุดเพียงรางวัลเดียว
ข้อ 3 เงินรางวัล
รางวัลที่ 1 รางวัลเงินสด 15,000 บาท จำนวน 5 รางวัล รวมเป็นเงิน 75,000 บาท
รางวัลที่ 2 รางวัลเงินสด 10,000 บาท จำนวน 10 รางวัล รวมเป็นเงิน 100,000 บาท
รางวัลที่ 3 รางวัลเงินสด 7,000 บาท จำนวน 25 รางวัล รวมเป็นเงิน 175,000 บาท
รางวัลที่ 4 รางวัลเงินสด 5,000 บาท จำนวน 50 รางวัล รวมเป็นเงิน 250,000 บาท
รางวัลที่ 5 รางวัลเงินสด 2,000 บาท จำนวน 150 รางวัล รวมเป็นเงิน 300,000 บาท
ข้อ 4 การจับรางวัลและประกาศผล
4.1 การจับรายชื่อผู้โชคดีจะดำเนินการในวันที่ 9 กันยายน 2552 ณ อาคารสำนักงาน คปภ. เลขที่ 22/79 ถ.รัชดาภิเษก แขวงจันทรเกษม เขตจตุจักร กรุงเทพ
4.2 สำนักงาน คปภ. จะประกาศรายชื่อผู้โชคดีที่ได้รับรางวัลทาง เว็ปไซด์ของสำนักงาน www.oic.or.th ในวันที่ 11 กันยายน 2552 และจะแจ้งผลการจับรางวัลให้ผู้โชคดีทราบทางจดหมายลงทะเบียนตอบรับ
ข้อ 5 การรับเงินรางวัล
5.1 สำนักงาน คปภ.จะมีหนังสือแจ้งทางไปรษณีย์ให้ผู้ได้รับรางวัลทราบและให้มารับรางวัลด้วยตนเองภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ได้รับหนังสือดังกล่าว มิฉะนั้นจะถือว่าผู้ได้รับรางวัลสละสิทธิการรับรางวัล
5.2 ผู้ได้รับรางวัลต้องนำหลักฐานได้แก่ ตารางกรมธรรม์ประกันภัยฉบับจริง หนังสือแจ้งการรับรางวัลจากสำนักงาน คปภ. พร้อมหลักฐานแสดงตนติดต่อขอรับรางวัลที่ สำนักงาน คปภ. เลขที่ 22/79 ถ.รัชดาภิเษก แขวงจันทรเกษม เขตจตุจักร กรุงเทพ
5.3 สำหรับรางวัลที่ 1 และ 2 สำนักงาน คปภ. จะติดต่อเพื่อจัดมอบรางวัล ณ สำนักงาน คปภ. ในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานครหรือต่างจังหวัดแล้วแต่ความเหมาะสม
5.4 สำนักงาน คปภ. จะจ่ายเงินรางวัลเป็นเช็คระบุชื่อผู้รับรางวัลโดยเงินรางวัลจะจ่ายเป็นยอดสุทธิหลังหักภาษี ณ ที่จ่ายแล้ว
การตัดสินและชี้ขาดให้ถือมติของคณะกรรมการมอบรางวัลตามโครงการประชาสัมพันธ์การประกันภัยรถตาม พ.ร.บ. ของสำนักงาน คปภ. เป็นที่สิ้นสุด สำนักงาน คปภ.สงวนสิทธิในการใช้ชื่อและภาพถ่ายของผู้ได้รับรางวัลเพื่อการประชาสัมพันธ์ตามความเหมาะสม
เสริมความมั่นใจไปกับประกันสุขภาพแบบเหมาจ่าย คุ้มครอง โรคร้ายแรง โรคทั่วไป และอุบัติเหตุ เลือกแผนความคุ้มครองได้ตามต้องการตั้งแต่ 200,000 บาท ถึง 100,000,000 บาท สมัครได้ถึงอายุ 90 ปี คุ้มครองสุขภาพยาว ๆ ต่อเนื่องถึงอายุ 99 ปี* พร้อมลดหย่อนภาษีได้สูงสุด 25,000 บาทต่อปี
ตัวอย่างค่าเบี้ย เพศหญิงอายุ 35 ปี สุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง วันละไม่ถึง 59 บาท
เลือกความคุ้มครองสุขภาพ ดี เฮลท์ พลัส แผนความคุ้มครอง 5 ล้านบาท
โดยเป็นวงเงินต่อการรักษาแบบครั้งใดครั้งหนึ่ง และชำระเบี้ยประกันภัยรายปี
เลือกประกันสุขภาพเหมาจ่าย เลือกเมืองไทยประกันชีวิต
ไม่ว่าอาชีพอะไร ไลฟ์สไตล์แบบไหน
เมืองไทยประกันชีวิตเข้าใจทุกความต้องการในแบบคุณ
*เฉพาะสัญญาเพิ่มเติมการประกันภัยสุขภาพแบบ อีลิท เฮลท์ พลัส หรือแบบ ดี เฮลท์ พลัส
สัญญาเพิ่มเติมสุขภาพ ต้องซื้อแนบท้ายกรมธรรม์ที่มีผลบังคับอยู่
ความคุ้มครองของสัญญาเพิ่มเติมต้องไม่เกินระยะเวลาเอาประกันภัยของกรมธรรม์ประกันชีวิตที่สัญญาเพิ่มเติมนี้แนบท้าย
เบี้ยประกันภัยสามารถนำไปใช้สิทธิลดหย่อนภาษีได้ ทั้งนี้ หลักเกณฑ์เป็นไปตามที่กรมสรรพากร กำหนด
การพิจารณารับประกันภัยเป็นไปตามหลักเกณฑ์ของบริษัทฯ
เงื่อนไขเป็นไปตามมาตรฐานและความจำเป็นทางการแพทย์
เงื่อนไขเป็นไปตามที่ บมจ.เมืองไทยประกันชีวิตและธนาคารกำหนด
โปรดศึกษารายละเอียดความคุ้มครอง เงื่อนไข และข้อยกเว้นก่อนตัดสินใจทำประกันภัย
เสริมความมั่นใจด้วยประกันสุขภาพแบบเหมาจ่าย คุ้มครอง โรคร้ายแรง โรคทั่วไป และอุบัติเหตุ เลือกแผนความคุ้มครองได้ตามต้องการตั้งแต่ 200,000 บาท ถึง 100,000,000 บาท สมัครได้ถึงอายุ 90 ปี* คุ้มครองสุขภาพยาว ๆ ต่อเนื่องถึงอายุ 99 ปี* พร้อมลดหย่อนภาษีได้สูงสุด 25,000 บาทต่อปี
ตัวอย่างค่าเบี้ย เพศหญิงอายุ 35 ปี วันละไม่ถึง 59 บาท
เลือกความคุ้มครองสุขภาพ ดี เฮลท์ พลัส แผนความคุ้มครอง 5 ล้านบาท
โดยเป็นวงเงินต่อการรักษาแบบครั้งใดครั้งหนึ่ง และชำระเบี้ยประกันภัยรายปี
เลือกประกันสุขภาพเหมาจ่าย เลือกเมืองไทยประกันชีวิต
Whatever’s Next, MTL’s NEXT to You
พร้อมพัฒนาในทุกด้าน เพื่อก้าวเดินไปพร้อมคุณ
เสริมความมั่นใจไปกับ เหมาจ่าย เอ็กซ์ตร้า คุ้มครองทั้งโรคร้ายแรง โรคระบาด โรคฝีดาษลิง โรคอุบัติใหม่ โรคทั่วไป และอุบัติเหตุ พร้อมดูแลค่ารักษาแบบเหมาจ่ายครึ่งล้าน(1) เบี้ยวันละไม่ถึง 42 บาท(2)
ซื้อความคุ้มครองเพิ่มได้ ทั้งชดเชยรายวัน คุ้มครองกรณีผู้ป่วยนอก OPD หรือคุ้มครองโรคร้าย Multiple CI ก็เลือกได้ตามใจ ไม่ต้องกังวลเรื่องค่ารักษาหรือสูญเสียรายได้หากต้องลาหยุด เลือกจ่ายแบบรายเดือนได้สบาย ๆ ตามที่ไหว
คุ้มครองแบบเหมาจ่ายตามจริง 500,000 บาท(1)
ค่าห้อง 4,000 บาทต่อวัน(1) และรับเพิ่ม 2 เท่า หากเข้าพักในห้อง ICU
คุ้มครองเยอะขนาดนี้ แต่จ่ายเบี้ยประกันภัยแบบสบายๆ เลือกจ่ายแบบรายเดือนก็ได้
ซื้อวันนี้ผ่อนค่าเบี้ยสบาย ๆ 0% นานสูงสุด 6 เดือน หรือรับเครดิตเงินคืนสูงสุด 13%
(1) สำหรับแผนความคุ้มครอง 3 โดยเป็นวงเงินต่อการรักษาแบบผู้ป่วยในครั้งใดครั้งหนึ่ง
(2) สำหรับผู้เอาประกันภัยเพศหญิง 30 ปี เลือกแผนความคุ้มครอง 3 และชำระเบี้ยประกันรายปี
โครงการเหมาจ่าย เอ็กซ์ตร้า เป็นชื่อทางการตลาดของสัญญาเพิ่มเติมการประกันสุขภาพ แบบ เอ็กตร้าแคร์ (N)
ความคุ้มครองของสัญญาเพิ่มเติมต้องไม่เกินระยะเวลาเอาประกันภัยของกรมธรรม์ประกันชีวิตที่สัญญาเพิ่มเติมนี้แนบท้าย
เบี้ยประกันภัยสามารถนำไปใช้สิทธิหักลดหย่อนภาษีได้ ทั้งนี้ หลักเกณฑ์เป็นไปตามที่กรมสรรพากร กำหนด
เงื่อนไขความคุ้มครองเป็นไปตามที่ระบุไว้ในกรมธรรม์
การพิจารณารับประกันภัยเป็นไปตามหลักเกณฑ์ของบริษัทฯ
เงื่อนไขเป็นไปตามมาตรฐานและความจำเป็นทางการแพทย์
เงื่อนไขเป็นไปตามที่ บมจ.เมืองไทยประกันชีวิตและธนาคารกำหนด
โปรดศึกษารายละเอียดความคุ้มครอง เงื่อนไข และข้อยกเว้นก่อนตัดสินใจทำประกันภัย