MTL Click เมืองไทยประกันชีวิต ประกันโรคร้ายแรง เปลี่ยนร่างพังให้เป็นร่างปัง 4 วิธีซ่อมหุ่นแบบฉุกเฉิน ชอบเล่นกีฬาประกันสุขภาพสุขภาพ ปลายปี มันมีงานให้เราต้องฟิตร่างแบบฉุกเฉินอยู่บ่อยครั้ง ทั้งงานแต่งเพื่อนสนิทเอย งานเลี้ยงรุ่นเอย MTL ขอนำเทคนิคฟิตหุ่นแบบรวบรัดมาฝาก ใครอยากแฮปปี้กับร่างปัง ตามมาฟังกันเลย
หุ่นดีแล้ว อย่าลืมดูแลสุขภาพกันด้วย อยากให้เมืองไทยประกันชีวิตช่วยดูแลสุขภาพ คลิก! ประกันชีวิตและสุขภาพ
1. กินพอดี
เรื่องอาหารสำคัญที่สุดในการลดหุ่นให้สำเร็จ อยากหุ่นดีห้ามอดอาหาร แต่ควรจำกัดปริมาณ และเลือกของที่มีประโยชน์ โดยเฉพาะอาหารที่มีแป้งและน้ำตาล นอกจากทำให้หุ่นแย่แล้วยังให้ดูผิวแก่ก่อนวัยด้วย ใครไม่อยากนับแคลให้ยุ่งยาก ลองวิธีง่ายๆ กินข้าวมื้อหลักปริมาณปกติ แล้วงดขนมกับน้ำหวาน แนวทางง่าย แต่ลงมือทำยาก หุ่นดีแล้ว อย่าลืมดูแลสุขภาพกันด้วย อยากให้เมืองไทยประกันชีวิตช่วยดูแลสุขภาพ คลิก! ประกันชีวิตและสุขภาพ
2. ออกกำลังแบบที่ชอบ
อย่าเพิ่งยี้.. ลองหาวิธีครีเอทการออกกำลังให้สนุก เช่น ใครชอบช้อป ลองเปลี่ยนพลังการเดินช้อปเป็นก้าวเดินวันละ 10,000 ก้าวก็ไม่เลว หรือใครคอซีรีย์ ปั่นจักรยานไปดูซีรีย์ไปก็เพลินดี MTL Click เฉลี่ยวันละชัวโมง ถ้าทำได้ทุกวันก็สบายๆ
3. นอน 4 ทุ่ม
จริง….. แค่นอนดีก็ช่วยเผาผลาญได้ เวลาการเข้านอนที่ดีที่สุดคือช่วง 21.00 – 23.00 น. เพราะการนอนเร็วก็จะช่วยลดอาการหิวยามดึก ร่างกายจะหลั่งฮอร์โมนเล็ปติน (Leptin) ซึ่งเป็นฮอร์โมนทำให้รู้สึกอิ่ม เพิ่มอัตราการเผาผลาญให้ทำงานได้ดีมากขึ้นซึ่งจะช่วยคุมน้ำหนักตัวให้คงที่ด้วย หุ่นดีแล้ว อย่าลืมดูแลสุขภาพกันด้วย อยากให้เมืองไทยประกันชีวิตช่วยดูแลสุขภาพ คลิก! ประกันชีวิตและสุขภาพ
4. ดื่มน้ำ 2 ลิตร
น้ำเปล่าช่วยให้ระบบในร่างกายทำงานได้เป็นปกติ สำหรับคนน้ำหนักปกติ ควรดื่มน้ำวันละประมาณ 2 ลิตร โดยเฉพาะหลังตื่นนอนก่อนแปรงฟัน ให้ดื่มน้ำทันที 2-5 แก้ว เพื่อช่วยขับของเสียออกจากร่างกาย และเลือกเป็นน้ำอุณหภูมิปกติจะดีที่สุด หุ่นดีแล้ว อย่าลืมดูแลสุขภาพกันด้วย อยากให้เมืองไทยประกันชีวิตช่วยดูแลสุขภาพ คลิก! ประกันชีวิตและสุขภาพ
นางสาวพจนีย์ ธนวรานิช อธิบดีกรมการประกันภัย เปิดเผยว่า ตามที่ กรมการขนส่งทางบกได้รับจดทะเบียนรถที่ขับเคลื่อนด้วยพลังงานไฟฟ้า เป็นประเภทรถหนึ่งที่สามารถนำมาใช้บนถนนสาธารณะได้นั้น กรมการประกันภัยจึงได้พิจารณากำหนดอัตราเบี้ยประกันภัยรถตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535 (ภาคบังคับ) สำหรับรถที่ขับเคลื่อนด้วยพลังงานไฟฟ้า 3 ประเภท ได้แก่ รถจักรยานยนต์ รถสามล้อ และรถยนต์นั่งไม่เกิน 7 คน เพื่อให้ผู้ใช้รถประเภทดังกล่าว สามารถทำประกันภัยรถภาคบังคับตามกฎหมายได้ โดยอัตราเบี้ยประกันภัย(อัตราเบี้ยประกันภัยคงที่ไม่รวมภาษีอากร) กำหนดไว้ดังนี้
1. รถจักรยานยนต์ไฟฟ้า
1.1 บุคคล 300 บาท/ปี
2. รถสามล้อไฟฟ้า
2.1 บุคคล 500 บาท/ปี
2.2 รับจ้าง/ให้เช่า/สาธารณะ 1,440 บาท/ปี
3. รถยนต์นั่งไฟฟ้า (ไม่เกิน 7 คน)
3.1 บุคคล 600 บาท/ปี
3.2 รับจ้าง/ให้เช่า/สาธารณะ 1,900 บาท/ปี
ทั้งนี้อัตราเบี้ยประกันภัยดังกล่าวส่วนใหญ่จะใช้อัตราเดียวกับอัตราที่ใช้กับรถที่ขับเคลื่อนด้วยเครื่องยนต์ ซึ่งมีอยู่เดิม ยกเว้นรถส่วนบุคคล 2 ประเภท คือ รถยนต์นั่งไม่เกิน 7 คน (รถเก๋ง) และรถสามล้อ ซึ่งได้กำหนดให้มีอัตราต่ำกว่าเพื่อสนับสนุนนโยบายส่งเสริมการประหยัดพลังงานของประเทศ โดยรถสามล้อไฟฟ้าส่วนบุคคลจะกำหนดอัตราเบี้ยประกันภัยไว้ 500 บาท/ปี ในขณะที่รถสามล้อที่ขับเคลื่อนด้วยเครื่องยนต์กำหนดไว้ที่ 720 บาท/ปี และรถเก๋งไฟฟ้ากำหนดอัตราเบี้ยประกันภัยไว้ 600 บาท/ปี ในขณะที่รถเก๋งที่ ขับเคลื่อนด้วยเครื่องยนต์กำหนดไว้ที่ 700 บาท/ปี
ทั้งนี้อัตราเบี้ยประกันภัยดังกล่าวส่วนใหญ่จะใช้อัตราเดียวกับอัตราที่ใช้กับรถที่ขับเคลื่อนด้วยเครื่องยนต์ ซึ่งมีอยู่เดิม ยกเว้นรถส่วนบุคคล 2 ประเภท คือ รถยนต์นั่งไม่เกิน 7 คน (รถเก๋ง) และรถสามล้อ ซึ่งได้กำหนดให้มีอัตราต่ำกว่าเพื่อสนับสนุนนโยบายส่งเสริมการประหยัดพลังงานของประเทศ โดยรถสามล้อไฟฟ้าส่วนบุคคลจะกำหนดอัตราเบี้ยประกันภัยไว้ 500 บาท/ปี ในขณะที่รถสามล้อที่ขับเคลื่อนด้วยเครื่องยนต์กำหนดไว้ที่ 720 บาท/ปี และรถเก๋งไฟฟ้ากำหนดอัตราเบี้ยประกันภัยไว้ 600 บาท/ปี ในขณะที่รถเก๋งที่ ขับเคลื่อนด้วยเครื่องยนต์กำหนดไว้ที่ 700 บาท/ปี
หากมีปัญหาหรือข้อสงสัยเกี่ยวกับการประกันภัยรถ สามารถสอบถามเพิ่มเติมได้ที่ กรมการประกันภัย โทร.02-547-4524 หรือสายด่วนประกันภัย 1186
ตามที่คณะรัฐมนตรีมีมติ เมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม 2548 ให้กระทรวงพาณิชย์ จัดให้มีการรับประกันภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนที่มีภูมิลำเนาใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้โดยมอบหมายให้กรมการประกันภัยประสานงานกับบริษัทประกันภัย เพื่อรับประกันภัยดังกล่าว
นางสาวพจนีย์ ธนวรานิช อธิบดีกรมการประกันภัย เปิดเผยว่า ปัจจุบันการประกันชีวิต ได้ให้ความคุ้มครองสาเหตุการเสียชีวิตรวมถึงภัยก่อการร้ายไม่ว่าผู้เอาประกันชีวิตจะอยู่ ณ ที่ใด และในการประกันภัยอุบัติเหตุเอื้ออาทร ได้มีการขยายความคุ้มครองถึงภัยจลาจลนัดหยุดงาน และภัย ก่อการร้ายเพิ่มเป็นพิเศษ สำหรับประชาชนที่มีภูมิลำเนาอยู่ใน 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ คือ ปัตตานี ยะลา นราธิวาส สตูล และสงขลา
เพื่อให้การคุ้มครองครอบคลุมผู้เอาประกันภัยมากยิ่งขึ้น และเป็นการรองรับมติคณะรัฐมนตรีดังกล่าว ขณะนี้กรมการประกันภัยได้มีนโยบายให้ความเห็นชอบบริษัทประกันภัยที่ยื่นขอความเห็นชอบขายการประกันภัยอุบัติเหตุคุ้มครองถึงภัยก่อการร้ายซึ่งปกติเป็นข้อยกเว้นอยู่ในกรมธรรม์ประกันภัยวินาศภัยทั่วไป ซึ่งขณะนี้บริษัท กรุงเทพประกันภัย จำกัด (มหาชน) ได้รับความเห็นชอบให้ขายการประกันภัยดังกล่าวแล้ว
นางสาวพจนีย์ฯ กล่าวต่อไปว่า นอกจากความคุ้มครองภัยก่อการร้ายกรณีเสียชีวิตและบาดเจ็บดังกล่าวข้างต้นแล้ว ขณะนี้กรมการประกันภัยได้ตระหนักถึงความเสียหายต่อทรัพย์สินของประชาชนอันเนื่องมาจากภัยก่อการร้ายอีกด้วย จึงได้จัดให้มีกรมธรรม์ประกันใหม่ขึ้นมาเรียกว่า “กรมธรรม์ประกันภัยทรัพย์สินคุ้มครองภัยก่อการร้าย” ซึ่งให้ความคุ้มครองความเสียหายต่อทรัพย์สินอันเนื่องมาจากภัยก่อการร้ายรวมทั้งการถูกปาระเบิด หรือถูกวางระเบิดด้วย ในขณะนี้ประชาชนสามารถติดต่อขอทำประกันภัยดังกล่าวได้จาก 4 บริษัท คือ บริษัท กรุงเทพประกันภัย จำกัด (มหาชน) บริษัท ศรีอยุธยาประกันภัย จำกัด (มหาชน) บริษัท ทิพยประกันภัย จำกัด (มหาชน) และบริษัท สามัคคีประกันภัย จำกัด (มหาชน)
อย่างไรก็ตาม หากประชาชนมีข้อสงสัยเกี่ยวกับการทำประกันภัยดังกล่าวสามารถติดต่อสอบถามได้ที่ ศูนย์บริการประกันภัยสายด่วน 1186 หรือติดต่อผ่านเว็บไซต์ของกรมการประกันภัย http://www.doi.go.th
นางสาวพจนีย์ ธนวรานิช อธิบดีกรมการประกันภัย เปิดเผยว่า ตามที่ปรากฏเป็นข่าวในหนังสือพิมพ์หลายฉบับ ว่าบริษัทประกันภัยจะเพิ่มเบี้ยประกันภัยรถภาคสมัครใจในพื้นที่ที่มีความเสี่ยงต่อภัยน้ำท่วมนั้น น่าจะเป็นความเข้าใจที่คลาดเคลื่อน ข้อเท็จจริงไม่ได้นำปัจจัยเกี่ยวกับภัยน้ำท่วม หรือภัยธรรมชาติใดมาใช้ในการกำหนดอัตราเบี้ยประกันภัยรถภาคสมัครใจ แต่ปัจจัยที่สำคัญที่นำมาใช้ในการกำหนดอัตราเบี้ยประกันภัย ได้แก่ ประเภทรถ ลักษณะการใช้รถ ขนาดรถ อายุผู้ขับขี่ (เฉพาะรถส่วนบุคคล) อายุรถ จำนวนเงินเอาประกันภัยตัวรถ กลุ่มรถยนต์(เฉพาะประเภทรถยนต์นั่ง) อุปกรณ์เพิ่มพิเศษ (เฉพาะรถยนต์บรรทุก และรถพ่วง) โดยบริษัทประกันภัยทุกบริษัทจะต้องใช้อัตราเบี้ยประกันภัยตามที่นายทะเบียนกำหนด ไม่ว่าจะเป็นการประกันภัยรถภาคบังคับหรือภาคสมัครใจ หากฝ่าฝืนจะมีโทษสูงสุดปรับไม่เกิน 100,000 บาท ในปัจจุบันการประกันภัยรถภาคสมัครใจจะมีกรมธรรม์ประกันภัยหลัก อยู่ 4 ประเภท แต่ละประเภทมีความคุ้มครองหลัก ดังนี้
ประเภท 1 จะให้ความคุ้มครองความรับผิดต่อชีวิต ร่างกาย หรืออนามัย รวมถึงทรัพย์สินของบุคคลภายนอก และคุ้มครองความเสียหายของรถคันเอาประกันภัย รวมถึงกรณีรถคันเอาประกันภัยสูญหายหรือไฟไหม้ แต่ทั้งนี้รวมถึงความเสียหายของรถคันเอาประกันภัยที่เกิดจากน้ำท่วม และภัยธรรมชาติอื่นด้วย
ประเภท 2 จะให้ความคุ้มครองความรับผิดต่อชีวิต ร่างกาย หรืออนามัย รวมถึงทรัพย์สินของบุคคลภายนอก และคุ้มครองตัวรถคันเอาประกันภัยเฉพาะกรณีสูญหาย หรือไฟไหม้เท่านั้น
ประเภท 3 จะให้ความคุ้มครองเฉพาะความรับผิดต่อชีวิต ร่างกาย หรืออนามัย และทรัพย์สินของบุคคลภายนอกเท่านั้น
ประเภท 4 จะให้ความคุ้มครองเฉพาะความรับผิดต่อทรัพย์สินของบุคคลภายนอกเท่านั้น ซึ่งจะใช้ได้สำหรับรถยนต์นั่ง รถยนต์โดยสาร และรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคลเท่านั้น
สำหรับผู้ที่ทำประกันภัยรถยนต์ภาคสมัครใจประเภท 1 ประเภท 2 หรือประเภท 3 อาจได้รับส่วนลด หรือถูกเพิ่มเบี้ยประกันภัย จากอัตราเบี้ยประกันภัยปกติได้ ในกรณีดังต่อไปนี้
1. ส่วนลดเบี้ยประกันภัย
1.1 รถคันเอาประกันภัยเป็นรถใหม่ที่มีอายุการใช้งานไม่เกิน 1 ปี บริษัทสามารถให้ส่วนลดได้ไม่เกิน 15% ของเบี้ยประกันภัย
1.2 ผู้เอาประกันภัยทำประกันภัยรถกับบริษัทตั้งแต่ 3 คันขึ้นไป จะได้ส่วนลดกลุ่มจำนวน 10% ของเบี้ยประกันภัยของรถแต่ละคัน
1.3 การต่ออายุการประกันภัย และในระหว่างปีเอาประกันภัยที่ผ่านมาไม่มีการเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนจากบริษัทประกันภัย ผู้เอาประกันภัยจะได้รับส่วนลดเบี้ยประกันภัยเป็นลำดับขั้น เริ่มตั้งแต่ 20% 30% 40% และ 50% เป็นอัตราสูงสุด
2. ส่วนเพิ่มเบี้ยประกันภัย บริษัทจะเพิ่มเบี้ยประกันภัยกับผู้เอาประกันภัยได้
ในกรณีการต่ออายุการประกันภัย และในระหว่างปีเอาประกันภัยที่ผ่านมามีการเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนที่เกิดจากความประมาทของรถคันเอาประกันภัย หรือไม่สามารถแจ้งคู่กรณีให้บริษัททราบได้ ตั้งแต่ 2 ครั้งขึ้นไป และมีจำนวนเงินรวมกันเกิน 200% ของเบี้ยประกันภัย โดยจะถูกเพิ่มเบี้ยประกันภัยเป็นลำดับขั้น เริ่มตั้งแต่ 20% 30% 40% และ 50% เป็นอัตราสูงสุด
นางสาวพจนีย์ฯ กล่าวย้ำว่า หากประชาชนท่านใดมีข้อสงสัยว่าจะไม่ได้รับความเป็นธรรมจากการคำนวณเบี้ยประกันภัย กรุณาแจ้งให้กรมการประกันภัยทราบ เพื่อจะได้ดำเนินการตามกฎหมาย ต่อไป
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม ได้ที่กรมการประกันภัย โทร. 0-2547-4524 หรือสายด่วนประกันภัย 1186
ตามที่ นางสาวพจนีย์ ธนวรานิช อธิบดีกรมการประกันภัย ได้เปิดเผยถึงผลการเจรจาเพื่อจัดทำความตกลงการค้าบริการด้านการเงิน ภายใต้ความตกลงการค้าเสรี ไทย – สหรัฐอเมริกา ที่จัดขึ้นเป็นรอบที่ 5 ในระหว่างวันที่ 23-24 กันยายน 2548 ณ กรุงวอชิงตัน ดีซี ประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งได้มีการหารือถึงแนวทางในการกำกับดูแลธุรกิจประกันภัยในด้านต่าง ๆ และประเทศไทยได้ชี้แจงถึงการปฏิบัติต่อทุกประเทศอย่างเสมอภาคแล้ว นั้น
เพื่อให้เกิดความชัดเจนมากยิ่งขึ้น ในส่วนของประเด็นการเปิดสาขาของบริษัทประกันภัยต่างประเทศ จึงใคร่ขอชี้แจงว่า ตามกฎหมายปัจจุบัน สาขาของบริษัทประกันภัยต่างประเทศ จะเปิดสาขา (ย่อย) ณ ที่ใด ๆ เพิ่มเติมอีก มิได้ อีกทั้ง กรมการประกันภัยยังมิได้ให้อนุญาตในการเปิดสำนักงานตัวแทน ( Representative Office ) ของบริษัทประกันภัยใด ๆ ที่อยู่ต่างประเทศ สำหรับสำนักงานที่เป็นตัวแทนประกันชีวิต ( Life Insurance Agent ) ซึ่งไม่เกี่ยวข้องกับบริษัทประกันชีวิต ก็สามารถกระทำได้ ซึ่งกฎหมายได้กำหนดห้ามให้บริษัทประกันชีวิตจ่ายค่าใช้จ่าย ไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อม ให้แก่สำนักงานประกันชีวิตนั้น ๆ เนื่องจากอาจเข้าลักษณะสาขาของบริษัทประกันชีวิต ที่จะต้องขออนุญาตต่อกรมการประกันภัยก่อน จึงจะจัดตั้งได้
นางสาวพจนีย์ ธนวรานิช อธิบดีกรมการประกันภัย แจ้งว่าตามที่ปรากฏเป็นข่าวหนังสือพิมพ์ว่า บริษัทประกันภัยไม่รับประกันภัยรถยนต์ที่ใช้ก๊าซ NGV และแก๊สโซฮอล์ นั้น น่าจะเป็นความเข้าใจคลาดเคลื่อน ตามข้อเท็จจริงการประกันภัยรถยนต์แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
1. การประกันภัยรถตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535 (ภาคบังคับ) บริษัทประกันภัยรถทุกบริษัทจะปฏิเสธการรับประกันภัยไม่ได้ หากฝ่าฝืนจะมีโทษตามกฎหมายปรับตั้งแต่ 50,000 – 250,000 บาท
2. การประกันภัยรถยนต์ภาคสมัครใจ การรับประกันภัยขึ้นอยู่กับนโยบายของแต่ละบริษัท บางบริษัทอาจเน้นที่การรับประกันภัยรถยนต์นั่ง รถยนต์โดยสาร แต่ไม่เน้นการรับประกันภัยรถยนต์รับจ้างสาธารณะ เป็นต้น ซึ่งขึ้นอยู่กับความถนัดและความชำนาญของแต่ละบริษัทเอง
นอกจากนี้การรับประกันภัยรถยนต์ของบริษัทไม่ได้คำนึงถึงว่ารถยนต์คันนั้นๆ ใช้น้ำมันเชื้อเพลิง หรือเชื้อเพลิงใดในการขับเคลื่อน แต่จะพิจารณาจากประเภทและลักษณะการใช้รถเป็นสำคัญ ซึ่งหากรถยนต์ที่ใช้ก๊าซ NGV ได้มีการติดตั้งอุปกรณ์การใช้ก๊าซ NGV ที่มีมาตรฐานความปลอดภัยก็ไม่มีปัญหาที่บริษัทประกันภัยจะรับประกันภัย และในขณะนี้ก็มีหลายบริษัทที่รับประกันภัยรถที่ใช้ก๊าซ NGV ซึ่งส่วนใหญ่เป็น “รถแท็กซี่” โดยจากจำนวนรถแท็กซี่ทั้งหมดประมาณ 80,000 คัน เป็นรถแท็กซี่ที่ใช้ก๊าซ LPG (ก๊าซหุงต้ม) ประมาณ 80% ซึ่งมีการใช้มานานแล้ว และการติดตั้งอุปกรณ์มีราคาอยู่ที่ประมาณ 20,000 บาท ส่วนรถแท็กซี่ที่ใช้ก๊าซ NGV มีประมาณ 20% การใช้ยังไม่แพร่หลาย การติดตั้งอุปกรณ์มีราคาอยู่ที่ประมาณ 40,000 – 50,000 บาท ซึ่งจากประเด็นข่าวที่เกิดขึ้นน่าจะมาจากการที่มีบางบริษัทซึ่งไม่เคยรับประกันภัยรถแท็กซี่มาก่อน ได้ปฏิเสธการรับประกันภัย ทำให้ผู้เอาประกันภัยเข้าใจว่าบริษัทปฏิเสธเพราะเป็นรถที่ใช้ก๊าซ NGV แต่อย่างไรก็ตามบริษัทที่รับประกันภัยรถแท็กซี่อยู่ในขณะนี้สามารถรองรับความต้องการทำประกันภัยได้อย่างพอเพียงกับจำนวนรถแท็กซี่ที่มีอยู่แล้ว
นางสาวพจนีย์ฯ กล่าวย้ำว่าการรับประกันภัยของบริษัทประกันภัย ไม่ได้คำนึงถึงว่าเป็นรถยนต์ที่ใช้เชื้อเพลิงชนิดใดในการขับเคลื่อน แต่จะพิจารณาจากประเภท และลักษณะการใช้รถเป็นสำคัญ ดังนั้น หากประชาชนท่านใดถูกบริษัทประกันภัยปฏิเสธการรับประกันภัยเนื่องจากการใช้ก๊าซ NGV LPG หรือแก๊สโซฮอล์ก็ตาม ขอความกรุณาแจ้งให้กรมการประกันภัยทราบ เพื่อจะได้ดำเนินการในส่วนที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะการประกันภัยรถภาคบังคับหากมีบริษัทใดปฏิเสธการรับประกันภัย กรมการประกันภัยจะได้ลงโทษตามกฎหมายโดยเคร่งครัด ต่อไป
หากมีปัญหาและข้อสงสัยเกี่ยวกับการประกันภัยรถ สามารถสอบถามเพิ่มเติม ได้ที่กรมการประกันภัย โทร. 0-2547-4524 หรือสายด่วนประกันภัย 1186
นางสาวพจนีย์ ธนวรานิช อธิบดีกรมการประกันภัย ได้เปิดเผยถึงผลการเจรจาเพื่อจัดทำความตกลงการค้าบริการด้านการเงิน ภายใต้ความตกลงการค้าเสรี ไทย-สหรัฐอเมริกา ที่จัดขึ้นเป็นรอบที่ 5 ในระหว่างวันที่ 23-24 กันยายน 2548 ณ กรุงวอชิงตัน ดีซี ประเทศสหรัฐอเมริกา ที่คณะผู้เจรจาด้านการเงินฝ่ายไทย ซึ่งมี นายนริศ ชัยสูตร ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง เป็นหัวหน้าคณะ โดยประกอบด้วย ผู้แทนจาก ธนาคารแห่งประเทศไทย สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และกรมการประกันภัย ได้มีการเสนอร่างความตกลงในส่วนของสาขาการเงิน ซึ่งเป็นการยืนยันท่าทีของฝ่ายไทย ที่จะขอเจรจาจัดทำความตกลงฯ ในลักษณะ Positive-list Approach คือ การระบุสาขาการเงิน ที่สามารถเปิดเสรีได้ไว้ในข้อตกลง และส่วนใดที่ไม่ได้ระบุไว้จะถือว่ามิได้มีการเปิดเสรีใดๆ ในขณะที่ทางฝ่ายสหรัฐฯ ต้องการแบบ Negative-list Approach คือ เปิดเสรีให้แก่กันอย่างเต็มรูปแบบ ยกเว้นส่วนที่ระบุไว้เป็นข้อสงวนท้ายความตกลงฯ ซึ่งในการเจรจารอบ ต่อไปๆ ทั้งสองฝ่ายอาจมีการรวมร่างความตกลงฯ เข้าด้วยกัน ทั้งนี้ จะเป็นไปด้วยความ เหมาะสมและได้รับการพิจารณาในระดับนโยบาย เพื่อให้การเจรจาได้ประโยชน์ต่อทั้งสองฝ่าย
ในส่วนของสาขาประกันภัย ซึ่งมีนางสาวพจนีย์ ธนวรานิช อธิบดีกรมการ ประกันภัย เป็นหัวหน้าคณะเจรจา ได้มีการหารือและเห็นพ้องร่วมกันในเรื่องต่างๆ คือ
– ให้มีการปฏิบัติที่เท่าเทียมกันระหว่างบริษัทประกันภัยไทยและต่างประเทศ ซึ่งในปัจจุบันประเทศไทยได้มีการปฏิบัติที่เท่าเทียมกันอยู่แล้ว แต่ก็มีส่วนแตกต่างกันคือ กฎหมายได้กำหนดไว้ว่าสาขาของบริษัทประกันภัยต่างประเทศจะเปิดสาขา (ย่อย) ณ ที่ใดๆ เพิ่มเติม มิได้
– แนวทางการอนุมัติแบบคำขอต่างๆ โดยในปัจจุบัน กรมธรรม์ประกันชีวิตตามแบบมาตรฐาน ก็ได้มีการอนุมัติแบบ File and Use อยู่แล้ว และกำลังมีการศึกษาเพื่อปรับใช้การอนุมัติในลักษณะเดียวกันกับกรมธรรม์ประกันวินาศภัยประเภทอื่นๆ เพิ่มเติม
– การอนุมัติออกกรมธรรม์ประกันภัยแบบใหม่ ที่ยังไม่เคยมีการบริการในตลาดหรือที่มีความซับซ้อน ควรต้องมีการพิจารณาโดยใช้ระยะเวลาที่เหมาะสม และการที่จะ ไม่อนุมัติจะต้องเป็นเหตุผลที่พิจารณาแล้วเห็นว่าจะก่อให้เกิดความเสียหายเท่านั้น
– การขยายขอบเขตการลงทุนในต่างประเทศของบริษัทประกันภัย ซึ่งในปัจจุบันประเทศไทยก็ได้อนุญาตให้บริษัทประกันภัยมีการลงทุนในต่างประเทศได้อยู่แล้ว โดยต้องเป็นการลงทุนในหลักทรัพย์ที่มีความมั่นคงและเหมาะสมกับนโยบายการลงทุนในขณะนั้น
สำหรับการถือครองหุ้นในบริษัทประกันภัยของชาวต่างชาติ ซึ่งในปัจจุบันได้กำหนดไว้ที่ไม่เกินร้อยละ 25 และได้มีการขอเสนอแก้ไขกฎหมายเพื่อเพิ่มสัดส่วน ดังกล่าวให้เป็นไม่เกินร้อยละ 49 กำลังอยู่ระหว่างการพิจารณาในชั้นคณะกรรมการกฤษฎีกา ซึ่งเมื่อกฎหมายดังกล่าวมีผลบังคับใช้ ธุรกิจประกันภัยของไทยคงสามารถเพิ่มความแข็งแกร่ง และสามารถแข่งขันได้ในระดับหนึ่ง เพราะขณะนี้ กรมการประกันภัยและภาคธุรกิจประกันภัย ทั้งการประกันชีวิตและประกันวินาศภัยก็มีการเตรียมการให้มีการจัดทำแผนแม่บทการ ประกันภัยแห่งชาติ
เสริมความมั่นใจไปกับประกันสุขภาพแบบเหมาจ่าย คุ้มครอง โรคร้ายแรง โรคทั่วไป และอุบัติเหตุ เลือกแผนความคุ้มครองได้ตามต้องการตั้งแต่ 200,000 บาท ถึง 100,000,000 บาท สมัครได้ถึงอายุ 90 ปี คุ้มครองสุขภาพยาว ๆ ต่อเนื่องถึงอายุ 99 ปี* พร้อมลดหย่อนภาษีได้สูงสุด 25,000 บาทต่อปี
ตัวอย่างค่าเบี้ย เพศหญิงอายุ 35 ปี สุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง วันละไม่ถึง 59 บาท
เลือกความคุ้มครองสุขภาพ ดี เฮลท์ พลัส แผนความคุ้มครอง 5 ล้านบาท
โดยเป็นวงเงินต่อการรักษาแบบครั้งใดครั้งหนึ่ง และชำระเบี้ยประกันภัยรายปี
เลือกประกันสุขภาพเหมาจ่าย เลือกเมืองไทยประกันชีวิต
ไม่ว่าอาชีพอะไร ไลฟ์สไตล์แบบไหน
เมืองไทยประกันชีวิตเข้าใจทุกความต้องการในแบบคุณ
*เฉพาะสัญญาเพิ่มเติมการประกันภัยสุขภาพแบบ อีลิท เฮลท์ พลัส หรือแบบ ดี เฮลท์ พลัส
สัญญาเพิ่มเติมสุขภาพ ต้องซื้อแนบท้ายกรมธรรม์ที่มีผลบังคับอยู่
ความคุ้มครองของสัญญาเพิ่มเติมต้องไม่เกินระยะเวลาเอาประกันภัยของกรมธรรม์ประกันชีวิตที่สัญญาเพิ่มเติมนี้แนบท้าย
เบี้ยประกันภัยสามารถนำไปใช้สิทธิลดหย่อนภาษีได้ ทั้งนี้ หลักเกณฑ์เป็นไปตามที่กรมสรรพากร กำหนด
การพิจารณารับประกันภัยเป็นไปตามหลักเกณฑ์ของบริษัทฯ
เงื่อนไขเป็นไปตามมาตรฐานและความจำเป็นทางการแพทย์
เงื่อนไขเป็นไปตามที่ บมจ.เมืองไทยประกันชีวิตและธนาคารกำหนด
โปรดศึกษารายละเอียดความคุ้มครอง เงื่อนไข และข้อยกเว้นก่อนตัดสินใจทำประกันภัย
เสริมความมั่นใจด้วยประกันสุขภาพแบบเหมาจ่าย คุ้มครอง โรคร้ายแรง โรคทั่วไป และอุบัติเหตุ เลือกแผนความคุ้มครองได้ตามต้องการตั้งแต่ 200,000 บาท ถึง 100,000,000 บาท สมัครได้ถึงอายุ 90 ปี* คุ้มครองสุขภาพยาว ๆ ต่อเนื่องถึงอายุ 99 ปี* พร้อมลดหย่อนภาษีได้สูงสุด 25,000 บาทต่อปี
ตัวอย่างค่าเบี้ย เพศหญิงอายุ 35 ปี วันละไม่ถึง 59 บาท
เลือกความคุ้มครองสุขภาพ ดี เฮลท์ พลัส แผนความคุ้มครอง 5 ล้านบาท
โดยเป็นวงเงินต่อการรักษาแบบครั้งใดครั้งหนึ่ง และชำระเบี้ยประกันภัยรายปี
เลือกประกันสุขภาพเหมาจ่าย เลือกเมืองไทยประกันชีวิต
Whatever’s Next, MTL’s NEXT to You
พร้อมพัฒนาในทุกด้าน เพื่อก้าวเดินไปพร้อมคุณ
เสริมความมั่นใจไปกับ เหมาจ่าย เอ็กซ์ตร้า คุ้มครองทั้งโรคร้ายแรง โรคระบาด โรคฝีดาษลิง โรคอุบัติใหม่ โรคทั่วไป และอุบัติเหตุ พร้อมดูแลค่ารักษาแบบเหมาจ่ายครึ่งล้าน(1) เบี้ยวันละไม่ถึง 42 บาท(2)
ซื้อความคุ้มครองเพิ่มได้ ทั้งชดเชยรายวัน คุ้มครองกรณีผู้ป่วยนอก OPD หรือคุ้มครองโรคร้าย Multiple CI ก็เลือกได้ตามใจ ไม่ต้องกังวลเรื่องค่ารักษาหรือสูญเสียรายได้หากต้องลาหยุด เลือกจ่ายแบบรายเดือนได้สบาย ๆ ตามที่ไหว
คุ้มครองแบบเหมาจ่ายตามจริง 500,000 บาท(1)
ค่าห้อง 4,000 บาทต่อวัน(1) และรับเพิ่ม 2 เท่า หากเข้าพักในห้อง ICU
คุ้มครองเยอะขนาดนี้ แต่จ่ายเบี้ยประกันภัยแบบสบายๆ เลือกจ่ายแบบรายเดือนก็ได้
ซื้อวันนี้ผ่อนค่าเบี้ยสบาย ๆ 0% นานสูงสุด 6 เดือน หรือรับเครดิตเงินคืนสูงสุด 13%
(1) สำหรับแผนความคุ้มครอง 3 โดยเป็นวงเงินต่อการรักษาแบบผู้ป่วยในครั้งใดครั้งหนึ่ง
(2) สำหรับผู้เอาประกันภัยเพศหญิง 30 ปี เลือกแผนความคุ้มครอง 3 และชำระเบี้ยประกันรายปี
โครงการเหมาจ่าย เอ็กซ์ตร้า เป็นชื่อทางการตลาดของสัญญาเพิ่มเติมการประกันสุขภาพ แบบ เอ็กตร้าแคร์ (N)
ความคุ้มครองของสัญญาเพิ่มเติมต้องไม่เกินระยะเวลาเอาประกันภัยของกรมธรรม์ประกันชีวิตที่สัญญาเพิ่มเติมนี้แนบท้าย
เบี้ยประกันภัยสามารถนำไปใช้สิทธิหักลดหย่อนภาษีได้ ทั้งนี้ หลักเกณฑ์เป็นไปตามที่กรมสรรพากร กำหนด
เงื่อนไขความคุ้มครองเป็นไปตามที่ระบุไว้ในกรมธรรม์
การพิจารณารับประกันภัยเป็นไปตามหลักเกณฑ์ของบริษัทฯ
เงื่อนไขเป็นไปตามมาตรฐานและความจำเป็นทางการแพทย์
เงื่อนไขเป็นไปตามที่ บมจ.เมืองไทยประกันชีวิตและธนาคารกำหนด
โปรดศึกษารายละเอียดความคุ้มครอง เงื่อนไข และข้อยกเว้นก่อนตัดสินใจทำประกันภัย