UL Plus ออมเงินระยะสั้นดอกเบี้ยสูง ออมเงินระยะยาว วางแผนเกษียณ


UL Plus ออมเงินระยะสั้นดอกเบี้ยสูง ออมเงินระยะยาว วางแผนเกษียณ ร้อนนี้ต้องระวัง ! น้ำแข็ง น้ำดื่มเสี่ยงปนเชื้อโรค ประกันสุขภาพสุขภาพทำงานหนัก ไม่มีเวลาดูแลตัวเองประกันชีวิต

อากาศร้อนเบอร์นี้ ต้องดูแลตัวเองกันหน่อย โดยเฉพาะเรื่องของอาหารการกินยิ่งต้องระวัง เพราะอาจเสี่ยงเชื้อโรคที่ปนเปื้อนมาได้ ซึ่งอากาศร้อน ๆ แบบนี้หลายคน คงมีวิธีคลายร้อนที่แตกต่างกันไป แต่มีอยู่หนึ่งวิธีทีที่ทำได้ง่ายแถมช่วยคลายร้อนได้เร็วนั่นก็คือ การดื่มน้ำเย็น ๆ ใส่น้ำแข็งให้ชื่นใจ แต่รู้มั้ยว่าในน้ำดื่มหรือน้ำแข็งที่เรากินเข้าไป อาจมีเชื้อโรคปนเปื้อนเสี่ยงให้เกิดโรคติดเชื้อในระบบทางเดินอาหารตามมาได้

วันนี้เมืองไทยประกันชีวิต มีข้อมูลดี ๆ ชวนทุกคนมาเช็กกันให้ชัวร์ว่าน้ำดื่ม น้ำแข็งที่เรากินดับร้อนนั้น สะอาดเพียงพอรึยัง

หน้าร้อนแบบนี้บอกเลยว่า เชื้อโรคไม่ได้ปนเปื้อนอยู่แค่ในอาหารเท่านั้นนะ แต่ในน้ำดื่ม น้ำแข็ง หรือแม้แต่ในไอศกรีมที่เรากินดับร้อนกันเป็นประจำ ก็มีเชื้อโรคปนเปื้อนมาได้เช่นกัน เพราะถ้าขั้นตอนการผลิตและการเก็บรักษาไม่ดี อาจเกิดการปนเปื้อนและการเจริญเติบโตของเชื้อจุลินทรีย์อย่างรวดเร็ว

ซึ่งเชื้อจุลินทรีย์ที่ก่อให้เกิดโรคอาหารเป็นพิษ และมักพบบ่อยในช่วงหน้าร้อน ได้แก่ เชื้อซัลโมเนลลา เชื้อวิบริโอ คอเลอเร เชื้ออี. โคไล และ เชื้อสแตฟฟิโลคอคคัส ออเรียส เป็นต้น ซึ่งเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้เราเกิดอาการคลื่นไส้ อาเจียน เสี่ยงโรคท้องร่วง

เนื่องจากอุณหภูมิที่สูงเกินต้านแบบนี้ ทำให้เชื้อโรคเจริญเติบโตได้ดี เราจึงควรใส่ใจในเรื่องความสะอาดปลอดภัยเป็นหลัก เพื่อไม่ให้เสี่ยงโรคติดเชื้อในระบบทางเดินอาหาร การเลือกดับร้อนด้วยการดื่มน้ำ หรือน้ำแข็ง จึงต้องถูกสุขอนามัยดังนี้

การเลือกซื้อน้ำดื่ม
เลือกน้ำแข็งหรือน้ำดื่มจากแหล่งผลิตที่ถูกสุขลักษณะได้มาตรฐาน GMP
ควรเลือกขวดน้ำที่สะอาดและปิดสนิท ไม่รั่วซึม ไม่มีรอยสกปรก หรือรอยการเปิดใช้
ลักษณะของน้ำที่บรรจุอยู่ต้องใสสะอาด ไม่มีตะกอน ไม่มีสี กลิ่น รสที่ผิดปกติ
การเลือกซื้อน้ำแข็ง

ควรสังเกตรายละเอียดบนฉลากให้ครบถ้วน และต้องมีข้อความว่า “น้ำแข็งใช้รับประทานได้” ด้วยตัวอักษรสีน้ำเงิน โดยถุงที่ใช้บรรจุต้องสะอาด ปิดผนึก แน่นหนา ไม่ฉีกขาด
น้ำแข็งต้องใสสะอาด ไม่มีคราบ สี หรือกลิ่นที่ผิดปกติ ไม่มีฝุ่นผงหรือสิ่งแปลกปลอมในก้อนน้ำแข็ง
เมื่อน้ำแข็งละลายจะต้องใสไม่มีตะกอนขาวขุ่น ๆ อยู่ก้นแก้ว
เลือกร้านที่ถังน้ำแข็งวางสูงกว่าพื้นหรือทางเดินอย่างน้อย 60 เซนติเมตร

นอกจากนี้ UL Plus ควรสังเกตสถานที่เก็บและภาชนะที่บรรจุน้ำแข็งด้วย จะต้องถูกสุขอนามัย ภาชนะที่ใช้ตักต้องมีด้ามจับ ไม่ใช้มือหยิบจับน้ำแข็งโดยตรง และที่สำคัญต้องไม่มีอาหาร หรือเครื่องดื่มมาแช่ในน้ำแข็งที่ใช้กินโดยเด็ดขาด

ได้เห็นกันไปแล้วว่าน้ำดื่มและน้ำแข็งที่เรากินกันอยู่ทุกวัน ถ้าไม่เลือกร้านที่ถูกสุขอนามัยก็อาจทำให้ร่างกายเสี่ยงต่อโรคระบบทางเดินอาหารได้ ดังนั้นไม่ว่าจะร้อนเบอร์ไหน ยังไงก็ต้องเลือกความสะอาดและปลอดภัยไว้ก่อน เพราะหากพลาดพลั้งไปไม่ว่าจะท้องเสีย อาหารเป็นพิษ ก็อาจถึงขั้นต้องนอนโรงพยาบาลยาว ๆ กันได้

ดังนั้นควรดูแลสุขภาพและวางแผนเสริมความมั่นใจด้วยประกันสุขภาพแบบเหมาจ่าย คุ้มครองโรคร้ายแรง โรคทั่วไป และอุบัติเหตุ เลือกแผนความคุ้มครองได้ตามต้องการตั้งแต่ 200,000 บาท ถึง 100,000,000 บาท สมัครได้ถึงอายุ 90 ปี คุ้มครองสุขภาพยาว ๆ ต่อเนื่องถึงอายุ 99 ปี* พร้อมลดหย่อนภาษีได้สูงสุด 25,000 บาทต่อปี

ตัวอย่างค่าเบี้ย เพศหญิงอายุ 35 ปี สุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง วันละไม่ถึง 59 บาท

เลือกความคุ้มครองสุขภาพ ดี เฮลท์ พลัส แผนความคุ้มครอง 5 ล้านบาท

โดยเป็นวงเงินต่อการรักษาแบบครั้งใดครั้งหนึ่ง และชำระเบี้ยประกันภัยรายปี

เลือกประกันสุขภาพเหมาจ่าย เลือกเมืองไทยประกันชีวิต

ไม่ว่าอาชีพอะไร ไลฟ์สไตล์แบบไหน

เมืองไทยประกันชีวิตเข้าใจทุกความต้องการในแบบคุณ

*เฉพาะสัญญาเพิ่มเติมการประกันภัยสุขภาพแบบ อีลิท เฮลท์ พลัส หรือแบบ ดี เฮลท์ พลัส

สัญญาเพิ่มเติมสุขภาพ ต้องซื้อแนบท้ายกรมธรรม์ที่มีผลบังคับอยู่
ความคุ้มครองของสัญญาเพิ่มเติมต้องไม่เกินระยะเวลาเอาประกันภัยของกรมธรรม์ประกันชีวิตที่สัญญาเพิ่มเติมนี้แนบท้าย
เบี้ยประกันภัยสามารถนำไปใช้สิทธิลดหย่อนภาษีได้ ทั้งนี้ หลักเกณฑ์เป็นไปตามที่กรมสรรพากร กำหนด
การพิจารณารับประกันภัยเป็นไปตามหลักเกณฑ์ของบริษัทฯ

เงื่อนไขเป็นไปตามมาตรฐานและความจำเป็นทางการแพทย์
เงื่อนไขเป็นไปตามที่ บมจ.เมืองไทยประกันชีวิตและธนาคารกำหนด
โปรดศึกษารายละเอียดความคุ้มครอง เงื่อนไข และข้อยกเว้นก่อนตัดสินใจทำประกันภัย

สัดส่วนผู้ร่วมทุนต่างชาติในธุรกิจประกันชีวิต

ในปัจจุบันบริษัทประกันชีวิตที่มีผู้ร่วมทุนต่างชาติจำนวน 13 บริษัท และสาขาของบริษัทต่างประเทศจำนวน 1 บริษัท โดยประเทศที่เข้ามามีบทบาทในตลาดมากที่สุด 5 อันดับแรก คือ ฮ่องกง เยอรมันนี เนเธอร์แลนด์ สหรัฐอเมริกา และ ญี่ปุ่น ซึ่งเรียงอันดับตามส่วนแบ่งตลาดได้ดังนี้

1. บจ. อเมริกันอินเตอร์แนชชั่นแนล แอสชัวรันส์ (สาขาประเทศไทย) (ส่วนแบ่งตลาดอันดับที่ 1)
2. บมจ. อยุธยาอลิอันซ์ ซี.พี.ประกันชีวิต (ส่วนแบ่งตลาดอันดับที่ 3)
3. บจ. เมืองไทยประกันชีวิต (ส่วนแบ่งตลาดอันดับที่ 4)
4. บมจ. ไทยพาณิชย์นิวยอร์กไลฟ์ประกันชีวิต (ส่วนแบ่งตลาดอันดับที่ 5)
5. บมจ. กรุงเทพประกันชีวิต (ส่วนแบ่งตลาดอันดับที่ 6)
โดยจากบริษัทประกันชีวิตทั้งหมด 24 บริษัท ไม่รวมบริษัทประกันภัยต่อ ผู้ร่วมทุนต่างชาติจะถือหุ้นไม่เกิน 25% ของหุ้นทั้งหมด ยกเว้นสาขาของบริษัทต่างประเทศ

สัดส่วนผู้ร่วมทุนต่างชาติในธุรกิจประกันวินาศภัย

ในปัจจุบันบริษัทประกันวินาศภัยที่มีผู้ร่วมทุนต่างชาติจำนวน 30 บริษัท และสาขาของบริษัทต่างประเทศจำนวน 5 บริษัท โดยประเทศที่เข้ามามีบทบาทในตลาดมากที่สุด 3 อันดับแรก คือ เนเธอร์แลนด์ สหรัฐอเมริกา และ ญี่ปุ่น ซึ่งเรียงอันดับตามส่วนแบ่งตลาดได้ดังนี้

1. บมจ. เมืองไทยประกันภัย (ส่วนแบ่งตลาดอันดับที่ 6)
2. บจ. แอลเอ็มจี ประกันภัย (ส่วนแบ่งตลาดอันดับที่ 8)
3. บจ. ประกันภัยศรีเมือง (ส่วนแบ่งตลาดอันดับที่ 9)
4. บจ. นิวแฮมเชอร์ อินชัวรันส์ (สาขาประเทศไทย) (ส่วนแบ่งตลาดอันดับที่ 13)
5. บจ. เอ็ม เอส ไอ จี ประกันภัย (ประเทศไทย) (ส่วนแบ่งตลาดอันดับที่ 14)
โดยจากบริษัทประกันวินาศภัยทั้งหมด 72 บริษัท ไม่รวมบริษัทประกันภัยต่อ ผู้ร่วมทุนต่างชาติจะถือหุ้นไม่เกิน 25% ของหุ้นทั้งหมด ยกเว้นสาขาของบริษัทต่างประเทศ

จากปัญหาวิกฤตสถาบันการเงินที่เกิดขึ้น ในประเทศสหรัฐอเมริกา ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจประกันภัย สำนักงาน คปภ. ได้ติดตามอย่างใกล้ชิด เพื่อไม่ให้เกิดผลกระทบต่อธุรกิจประกันภัยในประเทศไทย จากภาพรวมธุรกิจประกันภัยนับตั้งแต่ต้นปี 2551 ถึงไตรมาสที่ 2 ของปี 2551 ตัวเลขของธุรกิจประกันภัยมีอัตราเจริญเติบโตอย่างต่อเนื่อง โดย มีเบี้ยประกันภัยรับโดยตรงรวมทั้งสิ้น 155,719 ล้านบาท มีอัตราขยายตัวเพิ่มขึ้น ร้อยละ 10.64 เมือเทียบกับช่วงเดียวกันของปี 2550 โดยธุรกิจประกันชีวิต มีการขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 13.56 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี 2550 และธุรกิจประกันวินาศภัย มีการขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 5.36 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี 2550 สำนักงาน คปภ. ได้คาดการณ์ว่า ไตรมาส 4 ของ ปี 2551 ธุรกิจประกันวินาศภัย จะมีอัตราขยายตัว 7.36 และธุรกิจประกันชีวิต จะมีการขยายตัว 14.10 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี 2550

นางจันทรา บูรณฤกษ์ เลขาธิการสำนักงาน คปภ. ได้กล่าวถึง การที่ผู้เอาประกันภัยจะ ทำการยกเลิกกรรมธรรม์ก่อนครบกำหนดสัญญา ต้องมีความสร้างความเข้าใจก่อนว่า มูลค่าเวนคืนกรมธรรม์ที่ผู้เอาประกันภัยจะได้รับคืนมีมูลค่าเท่ากับ จำนวนเงินสะสมของเบี้ยประกันภัยที่ผู้เอาประกันภัยจ่ายไปหักค่าใช้จ่ายและค่าความคุ้มครองชีวิตโดยจำนวนเงินสะสมนี้จะเพิ่มขึ้นทุกปี ดังนั้น หากผู้เอาประกันภัยยกเลิกกรมธรรม์ ในช่วงปีแรกๆ ของสัญญาประกันภัย จำนวนเงินที่ได้รับจะน้อยกว่าเบี้ยประกันที่ส่งไป สำนักงาน คปภ. อยากให้ผู้เอาประกันภัยได้ตระหนักถึงผลดีผลเสียที่จะได้รับ เพื่อป้องกันไม่ให้ท่านต้องเสียสิทธิประโยชน์ หากมีข้อสงสัยโปรดติดต่อ ฝ่ายกำกับผลิตภัณฑ์ประกันภัย 02-547-4994 หรือ สายด่วนประกันภัย 1186

นางจันทรา บูรณฤกษ์ เลขาธิการคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัยเปิดเผยว่า ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2552 เป็นต้นไป สำนักงาน คปภ.กำหนดให้บริษัทประกันภัยนำหลัก Cash before Cover มาใช้กับการประกันภัยรถยนต์ ทั้งการประกันภัยรถตาม พ.ร.บ. และการประกันภัยรถภาคสมัครใจ ซึ่งระบบ Cash before Cover เป็นระบบที่กำหนดให้สัญญาประกันภัยมีผลทันทีเมื่อบริษัทประกันภัยได้รับชำระเบี้ยประกันภัย ทั้งนี้ การชำระเบี้ยประกันภัยแก่ตัวแทนประกันภัย พนักงานและนายหน้าประกันภัยผู้ได้รับมอบอำนาจจากบริษัท จะถือว่าเป็นการชำระเบี้ยประกันภัยแก่บริษัทแล้วเช่นกัน

“การประกันภัยรถยนต์ในต่างประเทศมีการนำหลักการ Cash before Cover มาใช้กันนานแล้ว เช่น ในประเทศมาเลเซียมีการนำหลักการนี้มาใช้กับการประกันภัยรถยนต์ทุกประเภท ตั้งแต่ปี 2523 สำหรับประเทศไทย ผู้เอาประกันภัยที่ทำประกันชีวิตอยู่คงมีความคุ้นเคยกับระบบนี้เนื่องจากการประกันชีวิตได้ใช้ระบบนี้มานานมากแล้ว

ระบบการประกันภัยรถยนต์ในปัจจุบัน กรณีที่ผู้เอาประกันภัยแจ้งทำประกันภัยทางโทรศัพท์หรือการทำประกันภัยผ่านตัวแทน-นายหน้าประกันภัยซึ่งไม่ได้รับกรมธรรม์ประกันภัยหรือหลักฐานการชำระเบี้ยประกันภัย เมื่อเกิดอุบัติเหตุขึ้นอาจเกิดข้อขัดแย้งในภายหลังก็ต้องมีการพิสูจน์ว่าบริษัทรับประกันภัยแล้วหรือไม่ ดังนั้นเมื่อนำหลัก Cash before Cover มาใช้ก็จะช่วยป้องกันไม่ให้เกิดข้อขัดแย้งดังกล่าวได้ นอกจากนี้ ยังเป็นการส่งเสริมให้ธุรกิจประกันภัยมีธรรมาภิบาลที่ดี มีความมั่นคง ทำให้ผู้เอาประกันภัยมั่นใจได้ว่าเมื่อเกิดความเสียหายขึ้นจะได้รับการชดใช้ค่าเสียหายจากบริษัทประกันภัยด้วยความยุติธรรมและรวดเร็ว

นางจันทราฯ กล่าวต่อไปอีกว่า เมื่อนำหลัก Cash before Cover มาใช้ ผู้เอาประกันภัยต้องวางแผนในการทำประกันภัยไว้ล่วงหน้า โดยต้องทำประกันภัยหรือต่ออายุการประกันภัยให้ตรงหรือก่อนวันเริ่มต้นคุ้มครองและชำระเบี้ยประกันภัยทันทีที่ทำสัญญาประกันภัย ก็จะได้รับความคุ้มครองทันทีตามกรมธรรม์ประกันภัยที่ได้ตกลงไว้ และให้เก็บกรมธรรม์ประกันภัยหรือใบเสร็จรับเงินไว้เป็นหลักฐาน กรณีการประกันภัยภาคสมัครใจบริษัทประกันภัยอาจไม่สามารถออกกรมธรรม์ประกันภัยได้ทันที ผู้เอาประกันภัยต้องเก็บใบเสร็จรับเงินไว้เป็นหลักฐาน โดยบริษัทประกันภัยต้องจัดส่งกรมธรรม์ประกันภัยให้ภายใน 15 วัน

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมที่ สายด่วนประกันภัย โทร. 1186

สำนักงาน คปภ. มีแนวทางการกำกับดูแลความมั่นคงทางการเงินของบริษัทประกันภัยสาขาต่างประเทศ กล่าวคือ

1. บริษัทจะต้องมีเงินกองทุนครบถ้วนตามกฎหมาย
2. ส่งเสริมให้บริษัทดำรงเงินลงทุนส่วนใหญ่ไว้ในประเทศไทย
3. ตามมาตรา 32 แห่ง พรบ. ประกันชีวิต พ.ศ. 2535 การคำนวณผลกำไรเพื่อจ่ายเงินปันผลแก่ผู้ถือหุ้น (การส่งกำไรสะสมให้แก่สำนักงานใหญ่) บริษัทฯ จะต้องได้รับความเห็นชอบจากนายทะเบียนทุกครั้ง ในการอนุมัติจ่ายเงินปันผลสำนักงาน คปภ. จะพิจารณาจากผลการดำเนินงานในปีที่ผ่าน และความมั่นคงทางการเงินของบริษัทในระยะยาว

บริษัท อเมริกันอินเตอร์แนชชั่นแนล แอสชัวรันส์ จำกัด (สาขาประเทศไทย) ได้ประกอบธุรกิจประกันชีวิต ภายใต้ พระราชบัญญัติประกันชีวิต โดยมี สำนักงาน คปภ. กำกับดูแล

ในกรณี AIG ประเทศสหรัฐอเมริกาได้ประสบปัญหาการทางเงินนั้น สำนักงาน คปภ. ได้เปิดเผยว่า สินทรัพย์ของบริษัท อเมริกันอินเตอร์แนชชั่นแนล แอสชัวรันส์ จำกัด (สาขาประเทศไทย) คิดเป็นเพียงร้อยละ 1.036 ของสินทรัพย์รวมของ AIG เท่านั้น

ทั้งนี้ สำนักงาน คปภ. ได้วิเคราะห์สถานภาพทางการเงินของ บริษัท อเมริกันอินเตอร์แนชชั่นแนล แอสชัวรันส์ จำกัด (สาขาประเทศไทย) พบว่า บริษัทฯ มีผลการดำเนินงานที่ดี มีสินทรัพย์รวม 383,060.77 ล้านบาท มีกำไรสะสมกว่า 70,000 ล้านบาท เงินกองทุน 69,241.64 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 1,107.67 ของเงินกองทุนที่ต้องดำรงตามกฎหมาย ณ กรกฎาคม 2551 ซึ่งตามแนวทางการกำกับและตรวจสอบบริษัทประกันภัยแนวใหม่นั้น ได้กำหนดให้บริษัทต้องมีอัตราส่วนเงินกองทุนต่อเงินกองทุนที่ต้องดำรงตามกฎหมายไม่ต่ำกว่าร้อยละ 150

สำนักงาน คปภ. ขอเรียนว่า บริษัทฯ มีเงินสำรองประกันภัยจำนวน 286,674.28 ล้านบาทตาม ราคาประเมิน ณ กรกฎาคม 2551 เพียงพอสำหรับกับจ่ายภาระผูกพันและผลประโยชน์ตามสัญญาประกันภัย หากมีข้อสงสัยติดต่อ สายด่วนประกันภัย 1186

เมื่อวันที่ 8 กันยายน 2551 ที่ผ่านมา นางจันทรา บูรณฤกษ์ เลขาธิการคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย ร่วมประชุมหารือกับ Mr. Craig Thorburn ผู้แทนจากธนาคารโลก และคณะผู้เชี่ยวชาญจากบริษัทที่ปรึกษา PricewaterhouseCoopers FAS Ltd. เกี่ยวกับการดำเนินการตามโครงการความช่วยเหลือทางวิชาการเพื่อพัฒนาระบบการกำกับดูแลธุรกิจประกันภัย (Thailand: Enhancing Insurance Regulation and Supervision) ซึ่งเป็นโครงการฯ ที่สำนักงาน คปภ. ได้รับการสนับสนุนทางด้านการเงินจากกองทุน FIRST (Financial Sector Reform and Strengthening Initiative) และได้รับความช่วยเหลือทางวิชาการจากธนาคารโลก ในการส่งคณะที่ปรึกษาเข้ามาพัฒนาระบบการดำรงเงินกองทุนตาม ความเสี่ยง (risk-based capital) การวิเคราะห์สภาพตลาดประกันภัย และระบบการเตือนภัยล่วงหน้า (Early Warning System) ให้กับธุรกิจประกันภัยของประเทศไทย

โครงการฯ ดังกล่าว นอกจากจะมีส่วนช่วยในการสร้างเสริมเสถียรภาพให้กับธุรกิจประกันภัยของไทย ในแง่การมีเงินกองทุนที่สะท้อนภาระความเสี่ยงที่บริษัทรับประกันแล้ว ยังเป็นการเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันให้กับธุรกิจประกันภัยของประเทศ

สำนักงาน คปภ. ได้แต่งตั้งคณะกรรมการร่วมภาครัฐและเอกชนในการกำหนดนโยบายและ แนวทางการกำกับดูแลเงินกองทุนตามระดับความเสี่ยง และคณะทำงานร่วมภาครัฐและเอกชนฯ ขึ้นก่อนหน้านี้ เพื่อทำหน้าที่กำหนดรูปแบบเงินกองทุนตามความเสี่ยงที่เหมาะสม โดยมีผู้แทนจากสำนักงาน คปภ. สมาคมประกันชีวิตไทย สมาคมประกันวินาศภัย สมาคมนักคณิตศาสตร์ประกันภัยแห่งประเทศไทย บริษัทประกันชีวิต และบริษัทประกันวินาศภัย เป็นองค์ประกอบคณะกรรมการและคณะทำงานฯ ดังกล่าว

นางจันทรา บูรณฤกษ์ เลขาธิการคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (คปภ.) กล่าวว่าจากการที่พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535 (ฉบับที่ 5) มาตรา 7 กำหนดให้ “รถที่เจ้าของรถได้ทำประกันภัยที่มีความคุ้มครองครอบคลุมความเสียหายต่อผู้ประสบภัย และทรัพย์สินแล้ว ไม่ต้องทำประกันภัยคุ้มครองผู้ประสบภัยอีก” โดยมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 28 สิงหาคม 2551 ขณะนี้นายทะเบียนได้อนุมัติให้บริษัทประกันภัยสามารถจำหน่ายกรมธรรม์ประกันภัยที่เรียกว่า “กรมธรรม์ประกันภัยรถยนต์รวมความคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ (Combine Policy)” เพื่อรองรับกฎหมายดังกล่าวเรียบร้อยแล้ว จึงทำให้ในขณะนี้กรมธรรม์ประกันภัยรถยนต์มีทั้งหมด 3 รูปแบบ คือ

1 กรมธรรม์ประกันภัยรถตาม พ.ร.บ. แบบเดิม
2 กรมธรรม์ประกันภัยรถยนต์ประเภท 1 2 3 และกรมธรรม์ฯแบบคุ้มครองเฉพาะภัยที่ไม่รวมการคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ และ
3 กรมธรรม์ประกันภัยรถยนต์ประเภท 1 2 3 และกรมธรรม์ฯแบบคุ้มครองเฉพาะภัยที่รวมการคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ

ผู้เอาประกันภัยที่ทำประกันภัยรถยนต์ต้องตรวจสอบการทำประกันภัยกับบริษัทประกันภัยทุกครั้งเพื่อความมั่นใจว่า กรมธรรม์ที่ทำนั้นมีความคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถตาม พ.ร.บ.ซึ่งกฎหมายกำหนดให้รถทุกคันต้องทำประกันภัย อย่างไรก็ตาม ผู้เอาประกันภัยสามารถตรวจสอบได้ว่ากรมธรรม์ประกันภัยที่ทำนั้นมีประกันภัยรถตาม พ.ร.บ. หรือไม่ โดยกรมธรรม์ประกันภัยรถภาคสมัครใจที่ไม่มีความคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถจะมีข้อความ “ไม่รวม พ.ร.บ.” ไว้ที่หน้าตารางกรมธรรม์ประกันภัยทุกกรมธรรม์

เลขาธิการ คปภ. กล่าวเพิ่มเติมว่า Combine Policy ยังคงมีหลักการปฏิบัติตามกรมธรรม์ประกันภัยภายใต้เงื่อนไขเดิมไปจนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2552 เป็นต้นไป การประกันภัยรถยนต์ทุกรูปแบบจะเริ่มใช้เงื่อนไขกรมธรรม์ประกันภัยใหม่ ซึ่งสำนักงาน คปภ. จะเร่งประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจต่อไป โดยสามารถสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ สายด่วนประกันภัย 1186 และสำนักงาน คปภ.จังหวัด ทุกแห่ง

เสริมความมั่นใจไปกับประกันสุขภาพแบบเหมาจ่าย คุ้มครอง โรคร้ายแรง โรคทั่วไป และอุบัติเหตุ เลือกแผนความคุ้มครองได้ตามต้องการตั้งแต่ 200,000 บาท ถึง 100,000,000 บาท สมัครได้ถึงอายุ 90 ปี คุ้มครองสุขภาพยาว ๆ ต่อเนื่องถึงอายุ 99 ปี* พร้อมลดหย่อนภาษีได้สูงสุด 25,000 บาทต่อปี

ตัวอย่างค่าเบี้ย เพศหญิงอายุ 35 ปี สุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง วันละไม่ถึง 59 บาท

เลือกความคุ้มครองสุขภาพ ดี เฮลท์ พลัส แผนความคุ้มครอง 5 ล้านบาท

โดยเป็นวงเงินต่อการรักษาแบบครั้งใดครั้งหนึ่ง และชำระเบี้ยประกันภัยรายปี

เลือกประกันสุขภาพเหมาจ่าย เลือกเมืองไทยประกันชีวิต

ไม่ว่าอาชีพอะไร ไลฟ์สไตล์แบบไหน

เมืองไทยประกันชีวิตเข้าใจทุกความต้องการในแบบคุณ

*เฉพาะสัญญาเพิ่มเติมการประกันภัยสุขภาพแบบ อีลิท เฮลท์ พลัส หรือแบบ ดี เฮลท์ พลัส

สัญญาเพิ่มเติมสุขภาพ ต้องซื้อแนบท้ายกรมธรรม์ที่มีผลบังคับอยู่
ความคุ้มครองของสัญญาเพิ่มเติมต้องไม่เกินระยะเวลาเอาประกันภัยของกรมธรรม์ประกันชีวิตที่สัญญาเพิ่มเติมนี้แนบท้าย
เบี้ยประกันภัยสามารถนำไปใช้สิทธิลดหย่อนภาษีได้ ทั้งนี้ หลักเกณฑ์เป็นไปตามที่กรมสรรพากร กำหนด

การพิจารณารับประกันภัยเป็นไปตามหลักเกณฑ์ของบริษัทฯ
เงื่อนไขเป็นไปตามมาตรฐานและความจำเป็นทางการแพทย์
เงื่อนไขเป็นไปตามที่ บมจ.เมืองไทยประกันชีวิตและธนาคารกำหนด
โปรดศึกษารายละเอียดความคุ้มครอง เงื่อนไข และข้อยกเว้นก่อนตัดสินใจทำประกันภัย

เสริมความมั่นใจด้วยประกันสุขภาพแบบเหมาจ่าย คุ้มครอง โรคร้ายแรง โรคทั่วไป และอุบัติเหตุ เลือกแผนความคุ้มครองได้ตามต้องการตั้งแต่ 200,000 บาท ถึง 100,000,000 บาท สมัครได้ถึงอายุ 90 ปี* คุ้มครองสุขภาพยาว ๆ ต่อเนื่องถึงอายุ 99 ปี* พร้อมลดหย่อนภาษีได้สูงสุด 25,000 บาทต่อปี

ตัวอย่างค่าเบี้ย เพศหญิงอายุ 35 ปี วันละไม่ถึง 59 บาท

เลือกความคุ้มครองสุขภาพ ดี เฮลท์ พลัส แผนความคุ้มครอง 5 ล้านบาท

โดยเป็นวงเงินต่อการรักษาแบบครั้งใดครั้งหนึ่ง และชำระเบี้ยประกันภัยรายปี

เลือกประกันสุขภาพเหมาจ่าย เลือกเมืองไทยประกันชีวิต

Whatever’s Next, MTL’s NEXT to You

พร้อมพัฒนาในทุกด้าน เพื่อก้าวเดินไปพร้อมคุณ

เสริมความมั่นใจไปกับ เหมาจ่าย เอ็กซ์ตร้า คุ้มครองทั้งโรคร้ายแรง โรคระบาด โรคฝีดาษลิง โรคอุบัติใหม่ โรคทั่วไป และอุบัติเหตุ พร้อมดูแลค่ารักษาแบบเหมาจ่ายครึ่งล้าน(1) เบี้ยวันละไม่ถึง 42 บาท(2)

ซื้อความคุ้มครองเพิ่มได้ ทั้งชดเชยรายวัน คุ้มครองกรณีผู้ป่วยนอก OPD หรือคุ้มครองโรคร้าย Multiple CI ก็เลือกได้ตามใจ ไม่ต้องกังวลเรื่องค่ารักษาหรือสูญเสียรายได้หากต้องลาหยุด เลือกจ่ายแบบรายเดือนได้สบาย ๆ ตามที่ไหว

คุ้มครองแบบเหมาจ่ายตามจริง 500,000 บาท(1)
ค่าห้อง 4,000 บาทต่อวัน(1) และรับเพิ่ม 2 เท่า หากเข้าพักในห้อง ICU
คุ้มครองเยอะขนาดนี้ แต่จ่ายเบี้ยประกันภัยแบบสบายๆ เลือกจ่ายแบบรายเดือนก็ได้
ซื้อวันนี้ผ่อนค่าเบี้ยสบาย ๆ 0% นานสูงสุด 6 เดือน หรือรับเครดิตเงินคืนสูงสุด 13%

(1) สำหรับแผนความคุ้มครอง 3 โดยเป็นวงเงินต่อการรักษาแบบผู้ป่วยในครั้งใดครั้งหนึ่ง

(2) สำหรับผู้เอาประกันภัยเพศหญิง 30 ปี เลือกแผนความคุ้มครอง 3 และชำระเบี้ยประกันรายปี

โครงการเหมาจ่าย เอ็กซ์ตร้า เป็นชื่อทางการตลาดของสัญญาเพิ่มเติมการประกันสุขภาพ แบบ เอ็กตร้าแคร์ (N)
ความคุ้มครองของสัญญาเพิ่มเติมต้องไม่เกินระยะเวลาเอาประกันภัยของกรมธรรม์ประกันชีวิตที่สัญญาเพิ่มเติมนี้แนบท้าย
เบี้ยประกันภัยสามารถนำไปใช้สิทธิหักลดหย่อนภาษีได้ ทั้งนี้ หลักเกณฑ์เป็นไปตามที่กรมสรรพากร กำหนด

เงื่อนไขความคุ้มครองเป็นไปตามที่ระบุไว้ในกรมธรรม์
การพิจารณารับประกันภัยเป็นไปตามหลักเกณฑ์ของบริษัทฯ
เงื่อนไขเป็นไปตามมาตรฐานและความจำเป็นทางการแพทย์

เงื่อนไขเป็นไปตามที่ บมจ.เมืองไทยประกันชีวิตและธนาคารกำหนด
โปรดศึกษารายละเอียดความคุ้มครอง เงื่อนไข และข้อยกเว้นก่อนตัดสินใจทำประกันภัย

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *